ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ละครวิทยุ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ลบอักษรเกิน
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Pn657 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
== ละครวิทยุ ==
'''ละครวิทยุ''' เป็นการนำการแสดงที่มีอยู่มาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียง ดังนั้นลักษณะของบทละครวิทยุจึงแตกต่างจากบทละครทั่วไป
คือศิลปะการแสดงแขนงหนึ่ง ที่ใช้เสียงในการสื่อสารถึงผู้ฟัง ไม่ว่าจะเป็นเสียงพูด เสียงดนตรี และเสียงประกอบต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ฟังได้จินตนาการ ให้เกิดเป็นภาพในความคิด ผู้ฟังจึงมีอิสระในการสร้างจินตนาการของตน ว่าต้องการให้พระเอกนางเอก หล่อสวยเพียใด สภาพแวดล้อมยิ่งใหญ่เท่าใดก็ย่อมได้
ผู้ประพันธ์จะต้องหาวิธีสร้างจินตนาการให้แก่ผู้ฟัง ให้สามารถเข้าใจและนึกถึงภาพความเป็นไปของเรื่องได้ นับตั้งแต่บุคลิกลักษณะ กิริยาท่าทาง อุปนิสัยใจคอของ
การจะเป็นละครวิทยุได้นั้น ต้องมีการนำบทประพันธ์(นวนิยาย) มาดัดแปลงให้อยู่ในรูปบทละครวิทยุเสียก่อน เพื่อความสะดวกในการใช้งานของนักแสดงขณะทำการบันทึกเสียง
ตัวละคร อารมณ์และความรู้สึกต่าง ๆ จะต้องแสดงออกทางคำพูดของตัวละคร ใส่ความรู้สึกทางคำพูด การเจรจาบทต้องใส่อารมณ์เป็นพิเศษ เพราะผู้ฟังมองไม่เห็น
== '''ต้นกำเนิด''' ==
ภาพตัวละคร บทละครวิทยุในอดีตจะมี '''บทบรรยาย''' แทรกเพื่อช่วยให้การดำเนินเรื่องกระชับ เป็นการเล่าประวัติ เหตุการณ์ต่าง ๆ เสริมจาก บทละคร
ต้นกำเนิดของละครวิทยุเท่าที่มีการบันทึกไว้ มีการออกอากาศครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2473 (ค.ศ.1930) โดยสตรีชื่อ เออร์น่า ฟิลลิปส์ โดยการสนุนจากบริษัทผลิตและจำหน่ายผงซักฟอก ซึ่งเป็นที่มาว่าทำไมจึงเรียกละครวิทยุว่า Soap Opara
ผู้ประพันธ์อาจใช้วิธีบรรยายโดยสอดแทรกไว้ในบทสนทนาของตัวละคร ผู้ควบคุมการแสดง จะต้องมีความสามารถเข้าใจ ตอนไหนจะให้ตัวละครใช้เสียงอย่างไร
เพื่อให้เข้ากับบรรยากาศของเรื่อง ตัวละครสำหรับบทละครวิทยุต้องมีตัวสำคัญประมาณ 3-4 ตัวและต้องเลือกผู้แสดงที่มี
เสียงแตกต่างกันมาก ๆ มิฉะนั้นผู้ฟังจะแยกเสียงไม่ออกว่าเป็นบทของตัวละครตัวไหน <ref>ละครวิทยุ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช สัมฤทธิบัตร หน้า 4-9-55</ref>


สําหรับประเทศไทยเริ่มดําเนินการออกอากาศที่ศาลาแดงเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 โดยละครวิทยุกระจายเสียงใน สมัยแรกๆ เจ้าหน้าที่ของสถานีจะเป็นผู้แสดงเอง ซึ่งเริ่มจากการแทรกบทเจรจา สลับกับมโหรีในละครรําประเภทต่างๆ เช่น ละครนอก ละครใน ละครร้อง จึงอาจกล่าวได้ว่าละครวิทยุในปัจจุบัน มีวิวัฒนาการมาจากศิลปะการแสดงในยุคก่อน แล้วจึงมีการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบให้เข้ากับยุคสมัย จนกลายมาเป็นละครวิทยุในยุคปัจจุบัน
== ขั้นตอนในการดำเนินเรื่อง ==
== ละครวิทยุคืออะไร ==
ขั้นตอนการดำเนินเรื่อง แต่ละคณะมีวิธีการนำเสนอที่เป็นสูตรคล้าย ๆ กัน คือ เริ่มต้น ผู้บรรยายทักทายผู้ฟัง บอกชื่อคณะละคร วัน เวลาที่ออกอากาศ ชื่อเรื่อง ชื่อเจ้าของ[[บทประพันธ์]] ชื่อผู้เขียนบทละครวิทยุ เล่าถึงความเดิมตอนที่แล้ว ผู้ฟังบางคนอาจไม่ได้ฟัง เพื่อย้ำเตือนความทรงจำของผู้ฟังอีกครั้ง
เป็นคำพูดที่มักจะได้ยิน เมื่อถามคนรุ่นใหม่ว่า เคยฟังละครวิทยุไหม รู้จักละครวิทยุไหม ซึ่งไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะ “ละครวิทยุ” ในปัจจุบัน เป็นที่รู้จักน้อยลงทุกขณะ แม้จะมีวิชาละครวิทยุสอนในมหาวิทยาลัยก็ตาม แต่ในสังคมโดยทั่วไปคำว่า “ละครวิทยุ” แทบจะเลือนหายไปจากความทรงจำของผู้คน ยิ่งคนรุ่นใหม่ด้วยแล้วจะมีจำนวนไม่มากนักที่เคยได้ฟังละครวิทยุ
หากจะกล่าวโดยย่นย่อถึงคำจำกัดความของละครวิทยุเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ละครวิทยุก็เหมือนละครโทรทัศน์ หรือซีรีส์ ที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ นั่นเอง เพียงแต่ละครวิทยุมีแต่เสียงไม่มีภาพ การนำเสนอเรื่องราวต่าง ๆ อาศัยเพียงเสียงเป็นตัวนำเสนอ ไม่ว่าจะเป็นเสียงพูดของนักแสดงละครวิทยุ *(1) เสียงดนตรี หรือเสียงประกอบต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวไปยังผู้ฟัง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวความรัก ความเศร้า บู๊ ตลกขบขัน ละครผีสยองขวัญ หรือแม้แต่สาระความรู้ก็ตาม
ดังนั้นละครวิทยุจะสนุกสนานน่าติดตาม หรือสามารถสื่อให้คนฟังเข้าใจเรื่องราวได้หรือไม่ ก็ล้วนอยู่ที่การนำเสนอผ่านเสียงทั้งสิ้น
จึงสรุปได้ว่า “ละครวิทยุ” ก็คือการนำเสนอเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งด้านบันเทิง และสาระไปยังผู้ฟัง ผ่านการใช้เสียง ไม่ว่าจะเป็นเสียงพูด เสียงดนตรี และเสียงประกอบต่าง ๆ โดยมีการผูกเป็นเรื่องราว มีที่มาที่ไปให้ชวนติดตามนั่นเอง


== อ้างอิง ==
<references/>




*(1)การที่บุคคลอ่านบท เปล่งเสียงเป็นเรื่องราว โดยสอดแทรกอารมณ์ลงไปในการเปล่งเสียง เช่นนี้เรียกว่า การแสดงละครวิทยุ และผู้ที่แสดง เรียกว่า นักแสดงละครวิทยุ (ไม่ใช่นักพากย์อย่างที่หลายคนเข้าใจผิด)




== อ้างอิง ==
<ref>-ละครวิทยุคืออะไร โดย ไอศูรย์ เนียมสมบุญ (นักแสดงละครวิทยุ/ผู้ประพันธ์และเขียนบทละครวิทยุ)</ref>
<ref>-ศิวะพร หงส์จินดาเกศ. 2537 : 1</ref>
[[หมวดหมู่:รายการวิทยุ]]
[[หมวดหมู่:รายการวิทยุ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:38, 19 กันยายน 2563

ละครวิทยุ

คือศิลปะการแสดงแขนงหนึ่ง ที่ใช้เสียงในการสื่อสารถึงผู้ฟัง ไม่ว่าจะเป็นเสียงพูด เสียงดนตรี และเสียงประกอบต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ฟังได้จินตนาการ ให้เกิดเป็นภาพในความคิด ผู้ฟังจึงมีอิสระในการสร้างจินตนาการของตน ว่าต้องการให้พระเอกนางเอก หล่อสวยเพียใด สภาพแวดล้อมยิ่งใหญ่เท่าใดก็ย่อมได้ การจะเป็นละครวิทยุได้นั้น ต้องมีการนำบทประพันธ์(นวนิยาย) มาดัดแปลงให้อยู่ในรูปบทละครวิทยุเสียก่อน เพื่อความสะดวกในการใช้งานของนักแสดงขณะทำการบันทึกเสียง

ต้นกำเนิด

ต้นกำเนิดของละครวิทยุเท่าที่มีการบันทึกไว้ มีการออกอากาศครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2473 (ค.ศ.1930) โดยสตรีชื่อ เออร์น่า ฟิลลิปส์ โดยการสนุนจากบริษัทผลิตและจำหน่ายผงซักฟอก ซึ่งเป็นที่มาว่าทำไมจึงเรียกละครวิทยุว่า Soap Opara

สําหรับประเทศไทยเริ่มดําเนินการออกอากาศที่ศาลาแดงเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 โดยละครวิทยุกระจายเสียงใน สมัยแรกๆ เจ้าหน้าที่ของสถานีจะเป็นผู้แสดงเอง ซึ่งเริ่มจากการแทรกบทเจรจา สลับกับมโหรีในละครรําประเภทต่างๆ เช่น ละครนอก ละครใน ละครร้อง จึงอาจกล่าวได้ว่าละครวิทยุในปัจจุบัน มีวิวัฒนาการมาจากศิลปะการแสดงในยุคก่อน แล้วจึงมีการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบให้เข้ากับยุคสมัย จนกลายมาเป็นละครวิทยุในยุคปัจจุบัน

ละครวิทยุคืออะไร

เป็นคำพูดที่มักจะได้ยิน เมื่อถามคนรุ่นใหม่ว่า เคยฟังละครวิทยุไหม รู้จักละครวิทยุไหม ซึ่งไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะ “ละครวิทยุ” ในปัจจุบัน เป็นที่รู้จักน้อยลงทุกขณะ แม้จะมีวิชาละครวิทยุสอนในมหาวิทยาลัยก็ตาม แต่ในสังคมโดยทั่วไปคำว่า “ละครวิทยุ” แทบจะเลือนหายไปจากความทรงจำของผู้คน ยิ่งคนรุ่นใหม่ด้วยแล้วจะมีจำนวนไม่มากนักที่เคยได้ฟังละครวิทยุ

หากจะกล่าวโดยย่นย่อถึงคำจำกัดความของละครวิทยุเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ละครวิทยุก็เหมือนละครโทรทัศน์ หรือซีรีส์ ที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ นั่นเอง เพียงแต่ละครวิทยุมีแต่เสียงไม่มีภาพ การนำเสนอเรื่องราวต่าง ๆ อาศัยเพียงเสียงเป็นตัวนำเสนอ ไม่ว่าจะเป็นเสียงพูดของนักแสดงละครวิทยุ *(1) เสียงดนตรี หรือเสียงประกอบต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวไปยังผู้ฟัง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวความรัก ความเศร้า บู๊ ตลกขบขัน ละครผีสยองขวัญ หรือแม้แต่สาระความรู้ก็ตาม ดังนั้นละครวิทยุจะสนุกสนานน่าติดตาม หรือสามารถสื่อให้คนฟังเข้าใจเรื่องราวได้หรือไม่ ก็ล้วนอยู่ที่การนำเสนอผ่านเสียงทั้งสิ้น จึงสรุปได้ว่า “ละครวิทยุ” ก็คือการนำเสนอเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งด้านบันเทิง และสาระไปยังผู้ฟัง ผ่านการใช้เสียง ไม่ว่าจะเป็นเสียงพูด เสียงดนตรี และเสียงประกอบต่าง ๆ โดยมีการผูกเป็นเรื่องราว มีที่มาที่ไปให้ชวนติดตามนั่นเอง



  • (1)การที่บุคคลอ่านบท เปล่งเสียงเป็นเรื่องราว โดยสอดแทรกอารมณ์ลงไปในการเปล่งเสียง เช่นนี้เรียกว่า การแสดงละครวิทยุ และผู้ที่แสดง เรียกว่า นักแสดงละครวิทยุ (ไม่ใช่นักพากย์อย่างที่หลายคนเข้าใจผิด)



อ้างอิง

[1] [2]

  1. -ละครวิทยุคืออะไร โดย ไอศูรย์ เนียมสมบุญ (นักแสดงละครวิทยุ/ผู้ประพันธ์และเขียนบทละครวิทยุ)
  2. -ศิวะพร หงส์จินดาเกศ. 2537 : 1