ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวอนส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างขึ้นโดยการแปลหน้า "Swans (band)"
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 43: บรรทัด 43:


==== อิทธิพลเบื้องต้น ====
==== อิทธิพลเบื้องต้น ====
ไมเคิล จิราได้กล่าวว่า "หงส์" คือคำที่จำกัดความของดนตรีที่เขาต้องการทำมากที่สุด <ref name="majestic"><nowiki><ref></nowiki>http://www.flowersinagun.com/interview-with-michael-gira-from-swans/<nowiki></ref></nowiki></ref> โดยเหตุผลว่า "หงส์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีรูปร่างที่งดงาม ที่มาด้วยนิสัยอันเกรี้ยวกราดรุนแรง "
ไมเคิล จิราได้กล่าวว่า "หงส์" คือคำที่จำกัดความของดนตรีที่เขาต้องการทำมากที่สุด <ref name="majestic"><nowiki><ref></nowiki>http://www.flowersinagun.com/interview-with-michael-gira-from-swans/<nowiki></ref> โดยเหตุผลว่า "หงส์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีรูปร่างที่งดงาม ที่มาด้วยนิสัยอันเกรี้ยวกราดรุนแรง "


สมาชิกรุ่นแรกของสวอนส์นั้นประกอบไปด้วยจิราเป็นมือเบสและร้องนำ [[โจนาธาน เคน]]เล่นกลอง [[ซู ฮาเนล]]เล่นกีตาร์ [[โมโจ]]เล่นเครื่องกระทบ โดยในช่วงนี้วงยังมีมือเบสคนที่สองที่หมุนเวียนแยู่กับวงเป็นระยะสั้นๆ ได้แก่ [[แดน บรอวน์]] [[จอน เทสส์เลอร์]](เล่นเครื่องกระทบและลูปเทปด้วย)และ[[เธอร์สตัน มัวร์]]ที่ต่อมาจะออกจากวงไปก่อตั้งวง[[โซนิกยูท]] <ref name="Swans allmusic"><nowiki><ref></nowiki>https://www.allmusic.com/artist/swans-mn0000034988/biography<nowiki></ref></nowiki></ref> ผลงานชุดเดียวของวงที่มีฮาเนลอยู่ในรายชื่อผู้ร่วมสร้างสรรค์คือผลงานชุดรวมเพลง ''[[บอดีทูบอดี, จ็อบทูจ็อบ]]'' แต่ทั้งนี้ ในอัลบั้มไม่ได้ระบุว่าเธอเล่นเพลงใด เคนได้กล่าวว่า "ซูเป็นนักกีตาร์ที่น่ากลัวที่สุดที่เราเคยได้พบเจอในนิวยอร์ก เธอเป็นคนที่น่าเหลือเชื่อสุดๆ " <ref name="Jonathan Kane and Swans">https://younggodrecords.com/blogs/press/13026405-jonathan-kane-and-swans</ref>
สมาชิกรุ่นแรกของสวอนส์นั้นประกอบไปด้วยจิราเป็นมือเบสและร้องนำ [[โจนาธาน เคน]]เล่นกลอง [[ซู ฮาเนล]]เล่นกีตาร์ [[โมโจ]]เล่นเครื่องกระทบ โดยในช่วงนี้วงยังมีมือเบสคนที่สองที่หมุนเวียนแยู่กับวงเป็นระยะสั้นๆ ได้แก่ [[แดน บรอวน์]] [[จอน เทสส์เลอร์]](เล่นเครื่องกระทบและลูปเทปด้วย)และ[[เธอร์สตัน มัวร์]]ที่ต่อมาจะออกจากวงไปก่อตั้งวง[[โซนิกยูท]] <ref name="Swans allmusic"><nowiki><ref></nowiki>https://www.allmusic.com/artist/swans-mn0000034988/biography<nowiki></ref> ผลงานชุดเดียวของวงที่มีฮาเนลอยู่ในรายชื่อผู้ร่วมสร้างสรรค์คือผลงานชุดรวมเพลง ''[[บอดีทูบอดี, จ็อบทูจ็อบ]]'' แต่ทั้งนี้ ในอัลบั้มไม่ได้ระบุว่าเธอเล่นเพลงใด เคนได้กล่าวว่า "ซูเป็นนักกีตาร์ที่น่ากลัวที่สุดที่เราเคยได้พบเจอในนิวยอร์ก เธอเป็นคนที่น่าเหลือเชื่อสุดๆ " <ref name="Jonathan Kane and Swans">https://younggodrecords.com/blogs/press/13026405-jonathan-kane-and-swans</ref>


ในเวลาต่อมาฮาเนลได้ถูกแทนที่โดย[[บ็อบ เพซโซลา]] <ref name="Nobody Knows No Wave">https://www.telegraph.co.uk/culture/books/non_fictionreviews/3670741/Nobody-knows-No-Wave.html</ref> ผู้และในช่วงนั้นก็ได้มีนัก[[แซกโซโฟน]]ชื่อ[[แดเนียล กัลลี-ดัวนี]]จากวง[[อาวอง-การ์ด]]ชื่อ[[ทรานส์มิชชัน]]เข้ามาร่วมวงด้วย <ref name="Nobody Knows No Wave" /> ในปี 1982 สวอนส์ได้ออกผลงาน[[อีพี]]ชุดแรก[[สวอนส์ (อีพี)|ที่ตั้งตามชื่อวง]] ซึ่งผลงานอีพีชุดนี้มีความแตกต่างทางด้านดนตรีจากผลงานในช่วงต่อๆ ไปของวง<ref name="Nobody Knows No Wave" /> โดยนักวิจารณ์ได้กล่าวว่าเสียงกีตาร์ที่เน้นหนักไปในการทำให้เสียงแตกทำให้นึกถึงวง[[โพสต์พังก์]]เช่นวง[[จอยดิวิชัน]] แต่ในเวลาต่อมา ดนตรีของวงก็ได้เปลี่ยนไปเป็นการเล่นคอร์ดแบบซ้ำไปซ้ำมาแบบ[[บลูส์]] ในขณะที่อิทธิพลของ[[แจ๊ส|ดนตรีแจ๊ส]]และจังหวะอันแปลกประหลาดที่เป็นเอกลักษณ์ของดนตรี[[โนเวฟ]]ในช่วงปลายทศวรรษ 1970 ก็ได้ค่อยๆ จางหายไปหลังจากมีการออกอัลบั้มชุดที่สอง ''[[ค็อป (อัลบั้ม)|ค็อป]]'' ในปี 1984
ในเวลาต่อมาฮาเนลได้ถูกแทนที่โดย[[บ็อบ เพซโซลา]] <ref name="Nobody Knows No Wave">https://www.telegraph.co.uk/culture/books/non_fictionreviews/3670741/Nobody-knows-No-Wave.html</ref> ผู้และในช่วงนั้นก็ได้มีนัก[[แซกโซโฟน]]ชื่อ[[แดเนียล กัลลี-ดัวนี]]จากวง[[อาวอง-การ์ด]]ชื่อ[[ทรานส์มิชชัน]]เข้ามาร่วมวงด้วย <ref name="Nobody Knows No Wave" /> ในปี 1982 สวอนส์ได้ออกผลงาน[[อีพี]]ชุดแรก[[สวอนส์ (อีพี)|ที่ตั้งตามชื่อวง]] ซึ่งผลงานอีพีชุดนี้มีความแตกต่างทางด้านดนตรีจากผลงานในช่วงต่อๆ ไปของวง<ref name="Nobody Knows No Wave" /> โดยนักวิจารณ์ได้กล่าวว่าเสียงกีตาร์ที่เน้นหนักไปในการทำให้เสียงแตกทำให้นึกถึงวง[[โพสต์พังก์]]เช่นวง[[จอยดิวิชัน]] แต่ในเวลาต่อมา ดนตรีของวงก็ได้เปลี่ยนไปเป็นการเล่นคอร์ดแบบซ้ำไปซ้ำมาแบบ[[บลูส์]] ในขณะที่อิทธิพลของ[[แจ๊ส|ดนตรีแจ๊ส]]และจังหวะอันแปลกประหลาดที่เป็นเอกลักษณ์ของดนตรี[[โนเวฟ]]ในช่วงปลายทศวรรษ 1970 ก็ได้ค่อยๆ จางหายไปหลังจากมีการออกอัลบั้มชุดที่สอง ''[[ค็อป (อัลบั้ม)|ค็อป]]'' ในปี 1984


==== รูปแบบดนตรีในช่วงต้น ====
==== รูปแบบดนตรีในช่วงต้น ====

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:42, 14 มิถุนายน 2563


สวอนส์
การแสดงสดของวงที่วอร์ซอว์ในเดือนธันวาคม 2010. จากซ้ายไปขวา: คริสตอฟ ฮาห์น เล่นกีตาร์นั่งตัก ไมเคิล จิรา เล่นกีตาร์ ธอร์ แฮร์ริส เล่นเครื่องกระทบ คริสโตเฟอร์ พราฟดิกา เล่นเบส และนอร์แมน เวสต์เบิร์ก เล่นกีตาร์ ฟิล พูลีโอ เล่นกลองอยู่หลังกลองชุด
เว็บไซต์younggodrecords.com

สวอนส์เป็นวงดนตรีเอกซ์เพอร์ริเมนทอลร็อก สัญชาติอเมริกันที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1982 โดยนักร้องนักแต่งเพลงและนักดนดรีชื่อว่าไมเคิล จิรา วงนี้นับว่าเป็นวงดนตรีในเครือของกลุ่มดนตรีแนวโนเวฟไม่กี่วงที่ยังคงดำรงอยู่ได้เป็นเวลานาน และเป็นวงเดียวที่สามารถอยู่ได้นานถึงสามทศวรรษ วงนี้เป็นที่รู้จักจากการที่มีการพัฒนาดนตรีของดนเองไปในทิศทางต่าง ๆ ในหลายแนว เช่น นอยส์ร็อก โพสต์พังก์ อินดัสเทรียล และโพสต์ร็อก ในช่วงระยะแรกนั้น พวกเขาเป็นที่รู้จักในฐานะวงที่มีดนตรีอันเข้มข้นและรุนแรง และคำร้องที่เต็มไปด้วยความเกลียดชังเผ่าพันธุ์มนุษย์ โดยในปี 1986 นักร้องหญิงชื่อว่าจาร์โบได้เข้ามาร่วมวง ทำให้แนวเพลงของวงเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากโนเวฟมาเป็นกอทิกร็อก แล้วจากนั้นจึงกลายเป็นโพสต์พังก์และโพสต์ร็อก เธอได้กลายเป็นสมาชิกประจำของวงร่วมกับจิราและมือกีตาร์นอร์แมน เวสต์เบิร์กจนกระทั่งยุบวงในปี 1997 หลังจากที่มีการวางแผงอัลบั้มซาวด์แทร็กส์ทูเดอะไบลนด์

ตั้งแต่ปี 1990 ผลงานทั้งหมดของสวอนส์ได้ถูกเผยแพร่โดยค่ายยังก็อดส์เรคอร์ดสที่จิราเป็นผู้ก่อตั้งเอง

ในปี 2010 จิราได้กลับมาตั้งวงใหม่โดยที่ไม่มีจาร์โบ พร้อมกับได้มีการจัดเดินสายแสดงสดไปทั่วโลก [1] โดยที่พวกเขาได้ออกอัลบั้มไปทั้งหมดสี่อัลบั้ม ซึ่งผลงานชุดไตรภาคอย่างเดอะเซียร์ ทูบีไคนด์และเดอะโกลว์อิงแมนล้วนได้รับคำชื่นชมล้นหลาม โดยหลั งจากที่วงนั้นได้ถูกพักในปี 2017 ในปี 2019 จิราได้ออกอัลบั้มใหม่ ลีฟวิงมีนนิง

ประวัติ

วงนี้ถูกก่อตั้งและนำโดยไมเคิล จิรา ที่ในภาพกำลังแสดงใน แคนซัสซิตี รัฐมิสซูรี ในเดือนกันยายน 2012

ช่วงแรก (1982-1985)

อิทธิพลเบื้องต้น

ไมเคิล จิราได้กล่าวว่า "หงส์" คือคำที่จำกัดความของดนตรีที่เขาต้องการทำมากที่สุด [2] โดยเหตุผลว่า "หงส์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีรูปร่างที่งดงาม ที่มาด้วยนิสัยอันเกรี้ยวกราดรุนแรง "

สมาชิกรุ่นแรกของสวอนส์นั้นประกอบไปด้วยจิราเป็นมือเบสและร้องนำ โจนาธาน เคนเล่นกลอง ซู ฮาเนลเล่นกีตาร์ โมโจเล่นเครื่องกระทบ โดยในช่วงนี้วงยังมีมือเบสคนที่สองที่หมุนเวียนแยู่กับวงเป็นระยะสั้นๆ ได้แก่ แดน บรอวน์ จอน เทสส์เลอร์(เล่นเครื่องกระทบและลูปเทปด้วย)และเธอร์สตัน มัวร์ที่ต่อมาจะออกจากวงไปก่อตั้งวงโซนิกยูท [3] ผลงานชุดเดียวของวงที่มีฮาเนลอยู่ในรายชื่อผู้ร่วมสร้างสรรค์คือผลงานชุดรวมเพลง บอดีทูบอดี, จ็อบทูจ็อบ แต่ทั้งนี้ ในอัลบั้มไม่ได้ระบุว่าเธอเล่นเพลงใด เคนได้กล่าวว่า "ซูเป็นนักกีตาร์ที่น่ากลัวที่สุดที่เราเคยได้พบเจอในนิวยอร์ก เธอเป็นคนที่น่าเหลือเชื่อสุดๆ " [4]

ในเวลาต่อมาฮาเนลได้ถูกแทนที่โดยบ็อบ เพซโซลา [5] ผู้และในช่วงนั้นก็ได้มีนักแซกโซโฟนชื่อแดเนียล กัลลี-ดัวนีจากวงอาวอง-การ์ดชื่อทรานส์มิชชันเข้ามาร่วมวงด้วย [5] ในปี 1982 สวอนส์ได้ออกผลงานอีพีชุดแรกที่ตั้งตามชื่อวง ซึ่งผลงานอีพีชุดนี้มีความแตกต่างทางด้านดนตรีจากผลงานในช่วงต่อๆ ไปของวง[5] โดยนักวิจารณ์ได้กล่าวว่าเสียงกีตาร์ที่เน้นหนักไปในการทำให้เสียงแตกทำให้นึกถึงวงโพสต์พังก์เช่นวงจอยดิวิชัน แต่ในเวลาต่อมา ดนตรีของวงก็ได้เปลี่ยนไปเป็นการเล่นคอร์ดแบบซ้ำไปซ้ำมาแบบบลูส์ ในขณะที่อิทธิพลของดนตรีแจ๊สและจังหวะอันแปลกประหลาดที่เป็นเอกลักษณ์ของดนตรีโนเวฟในช่วงปลายทศวรรษ 1970 ก็ได้ค่อยๆ จางหายไปหลังจากมีการออกอัลบั้มชุดที่สอง ค็อป ในปี 1984

รูปแบบดนตรีในช่วงต้น

เคนได้เปรียบเทียบสวอนส์กับตำนานบลูส์อย่างเชสเตอร์ เอร์เน็ตต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อฮาวลินวูลฟ์ [6] เพราะเพลงของพวกเขานั้นมักจะมีการตั้งฐานมาจากการเล่นริฟฟ์เพียงริฟฟ์เดียว [6] เพลงของเบอร์เน็ตต์บางเพลงโดยเฉพาะเพลงที่เบอร์เน็ตต์เขียนเองนั้นมีโครงสร้างและคุณภาพที่คล้ายคลึงกัน ดนตรีในช่วงแรกของพวกเขาถูกตรึงโดยเสียงกีตาร์ที่ช้าและกดดัน พร้อมกับการตีกลองที่ดุดันและหนักหน่วง และคำร้องที่น่ากลัว เต็มไปด้วยความเกลียดชังและรุนแรงของจิรา (ที่เขาได้รับแรงบันดาลใจจากฌอง เกเนต์และมาร์กี เดอ ซาด) ที่มักจะตะโกนหรือกระทั่งเหห่าในขณะทำหน้าที่นักร้องนำ นักวิจารณ์ได้กล่าวว่าดนตรีในช่วงแรกของสวอนส์นั้น "ก้าวร้าวเกินคำบรรยาย" [6]

ฟิลธ์ (1983) คือสตูดิโออัลบั้มชุดแรกของวง มีความโดดเด่นในการตีกลองที่"กัดกร่อน"และมักจะเปลี่ยนจังหวะอยู่บ่อยครั้ง ร่วมด้วยการเล่นดนตรีที่เหมือนกับการเล่นดนตรีเฮฟวีเมทัลในระดับความเร็วต่ำสุด[7] นักวิจารณ์บางคนได้กล่าวว่าสวอนส์เป็นเหมือน"สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนในดนตรี" [7] ฟิลธ์ เป็นอัลบั้มชุดแรกที่มีนักกีตาร์นอร์แมนเวสต์เบิร์ก ผู้ซึ่งจะมีบทบาทสำคัญในวง และจะปรากฏในอัลบั้มสตูดิโอทุกอัลบั้มถนอกจากชุดเลิฟออฟไลฟ์ [7]

อัลบั้มชุดที่สองค็อป และอีพียังก็อด ถูกปล่อยออกมาในปี 1984 โดยเดิมที่นั้นยังก็อด ยังเป็นผลงานที่ไม่ได้มีการตั้งชื่อเอาไว้ ทำให้มีการตั้งชื่อกันเองในหมู่แฟนเพลง เช่น "ไอครอวล์ด (I Crawled)" หรือชื่ออันฉาวโฉ่อย่าง "เรปปิงอะสเลฟ (Raping A Slave)" อีพีชุดนี้มักจะถูกสับสนกับอัลบั้มชุดแรกของพวกเขา โดยค็อปยังคงความหนักหน่วงแบบที่ฟิลธ์เคยมี ในยุคนี้สวอนส์มีจิราร้องนำ เวสต์เบิร์กเล่นกีตาร์ แฮร์รี ครอสบีเล่นกีตาร์เบสร่วมกับจิรา และโรลี มอซิมันน์เล่นกลอง โดยในช่วงนี้ เสียงร้องของจิราได้เปลี่ยนไปเล็กน้อย โดยได้ปรากฎการร้องแบบไพเราะและช้าลง แม้ว่าเสียงคำรามดุดันจะยังคงอยู่ก็ตาม บางเพลงในอีพีโดยเฉพาะ "ยังก็อด" และ "ไอครอวล์ด" มีทำนองร้อแท้จริงถ้าเป็นพื้นฐานให้ความสำคัญกับเสียงของการเผยแพร่ในอนาคต

สไตล์ดนตรีและอิทธิพล

จิราแสดงร่วมกับสวอนส์ที่สไตลัส มหาวิทยาลัยลีดส์ ในเดือนเมษายน 2013

ดนตรีของสวอนส์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา แต่โดยทั่วไปดนตรีของพวกเขามักจะมืดมน [8] [9] และ "สื่อถึงวันสิ้นโลก", [10] และมักจะมุ่งเน้นไปที่รูปแบบของอำนาจ ศาสนา เพศ และความตาย [11] โดยมักจะมีการทดลองสิ่งใหม่ๆ ในดนตรีของพวกเขาอยู่เสมอ [12] นิตยสารสปินได้กล่าวว่า วงนี้แสดงให้เห็นถึง "ความสามารถในการถ่ายทอดความรุนแรงอันไร้สาระของสภาพมนุษย์ให้เป็นดนตรีที่น่าตื่นเต้นและรุนแรงในเวลาเดียวกันอย่างไม่มีใครเทียบได้" [13]

ผลงานในช่วงแรกของพวกเขาหยั่งรากในดนตรีโนเวฟที่กำลังจางหายจากมหานครนิวยอร์ก[14] ดนตรีของวงได้รับชื่อเสียงจากการที่พวกเขาเล่นดนตรีไปด้วยความก้าวร้าวอย่างยิ่ง ซึ่งไมเคิล จิราได้กล่าววาพวกเขากำลังพยายาม "ถอดองค์ประกอบสำคัญของสิ่งที่เราพิจารณาว่าเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีร็อก" [15] เดอะการ์เดียน กล่าวว่า "เป็นดนตรีที่จังหวะที่เน้นจังหวะรุนแรงสั่นไหวที่กระจายในหลายแนวเพลง ทั้งโพสต์พังก์ อินดัสเทรียล ดูมเมทัล อาวองมินิมัลลิซึมและ บลูส์; ซึ่งก็มักจะเข้ากับคำร้องที่เน้นในแนวคิดสูญนิยม การต่อต้านแนวคิดการมีลูก และอัตถิภาวนิยม ... ที่ถูกร่ายออกมาราวกับว่าตนเป็นศาสนพยากรณ์ " [16] ดนตรีในช่วงนี้เป็นการผสมผสานของดนตรีอินดัสเทรียล [17] และนอยส์ร็อก [18] เชื่อกันว่าดนตรีของวงนี้มีอิทธิพลต่อการเกิดขึ้นของไกรนด์คอร์และสลัดจ์เมทัล [19] ต่อมาในช่วงทศวรรษ 1980 ดนตรีของสวอนส์ได้เริ่มรวมองค์ประกอบที่ไพเราะและสลับซับซ้อนมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งนับตั้งแต่การเปิดตัวของจาร์โบในฐานะนักแต่งเพลงในอัลบั้มชิลเดร็นออฟก็อดในปี 1987 [20] ในขณะเดียวกันก็ยังการรักษาความไม่ประสมสอดคล้องกันอยู่ จากนั้นพวกเขายังได้พัฒนาดนตรีไปยังแนวเพลงต่าง ๆ เช่น โพสต์พังก์ [21] โกธิคร็อก นีโอโฟล์ก ไซเคเดลิกร็อก และอาร์ตร็อก อัลบั้มสุดท้ายของพวกเขาก่อนที่จะยุบวงอย่างซาวด์แทร็กสฟอร์เดอะไบลนด์ เป็น อัลบั้มคู่ที่เน้นบรรยากาศแบบแนวโพสต์ร็อก [8] [11] โดรน [22] และดาร์กแอมเบียนต์ [22] นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นใหม่ในปี 2010 พวกเขายังคงเล่นดนตรีโพสต์ร็อค พร้อมกับโดรนและนอยส์ร็อก อัลบั้มคู่สามอัลบั้มของพวกเขา(เดอะเซียร์ ทูบีไคนด์และเดอะโกลว์อิงแมน)ได้รับเสียงชื่นชมอย่างกว้างขวาง โดยผลงานในช่วงนี้มักจะมีผลงานเพลงที่มีความซับซ้อน เน้นบรรยากาศและมีความยาวมาก โดยบางเพลงในยุคนี้อาจมีความยาวถึงยี่สิบถึงสามสิบนาที[23]

สวอนส์ได้รับการยอมรับว่าเป็นวงที่มีอิทธิพลต่อวงเอกซ์ตรีมเมทัลหลายวงและนักดนตรีร็อกหลายคน ดังเช่นสมาชิกของวง นาปาล์มเดธ [24] ก็อดเฟล็ช [25] เมลวินส์ [26]นิวรอซิส เนอร์วานา [27] ทูล [28] มายดายอิงไบรด์ [29] เลวีอาธาน [30] วีกกลิง [31] คาเนท[32] ลิทูร์จี [33] เทรโพเนมพาล [34] และคาร์ซีทเฮดเรสท์ [35]

สมาชิก

ธอร์ แฮร์ริส (หลังจิรา)
นอร์แมน เวสต์เบิร์ก
ฟิล พูลีโอ
คริสโตเฟอร์ พราฟดิกา
จาร์โบ

ปัจจุบัน

สมาชิกเดินสาย

อดีตสมาชิก


เส้นเวลา

ผลงาน

สตูดิโออัลบั้ม

หมายเหตุ

อ้างอิง

  1. https://www.metacritic.com/person/swans
  2. <ref>http://www.flowersinagun.com/interview-with-michael-gira-from-swans/</span> </li> <li id="cite_note-Swans_allmusic-3"><span class="mw-cite-backlink">[[#cite_ref-Swans_allmusic_3-0|↑]]</span> <span class="reference-text"><nowiki><ref>https://www.allmusic.com/artist/swans-mn0000034988/biography<nowiki>
  3. https://younggodrecords.com/blogs/press/13026405-jonathan-kane-and-swans
  4. 5.0 5.1 5.2 https://www.telegraph.co.uk/culture/books/non_fictionreviews/3670741/Nobody-knows-No-Wave.html
  5. 6.0 6.1 6.2 https://www.allmusic.com/album/greed-mw0001883300
  6. 7.0 7.1 7.2 https://www.allmusic.com/album/filth-mw0000691039
  7. 8.0 8.1 https://www.treblezine.com/beginners-guide-swans/
  8. https://www.columbusalive.com/content/stories/2013/07/18/staff-pick-swans-grueling-post-rock-will-send-you-reeling.html
  9. https://www.theguardian.com/music/2013/apr/05/swans-review
  10. 11.0 11.1 https://www.stereogum.com/1197001/swans-albums-from-worst-to-best/
  11. https://www.rollingstone.com/music/music-lists/20-rock-albums-turning-20-in-2016-163911/sublime-sublime-145838/
  12. https://www.spin.com/2016/06/review-swans-the-glowing-man/
  13. https://www.factmag.com/2014/03/10/a-beginners-guide-to-no-wave/
  14. https://louderthanwar.com/swans-in-depth-interview-with-michael-gira/
  15. https://www.theguardian.com/music/2015/dec/04/enduring-love-why-swans-are-more-vital-now-than-ever
  16. Reynolds, Simon (2005). Rip It Up and Start Again: Postpunk 1978–1984. (Page 487) London: Faber and Faber. ISBN 0-571-21569-6
  17. https://www.allmusic.com/style/noise-rock-ma0000004455
  18. https://www.loudersound.com/features/the-10-essential-sludge-metal-albums
  19. https://www.allmusic.com/artist/swans-mn0000034988/biography
  20. http://ppcorn.com/us/2014/10/02/swans-wave-act-survived/
  21. 22.0 22.1 http://magnetmagazine.com/2016/08/16/magnet-classics-the-making-of-swans-soundtracks-for-the-blind/
  22. https://pitchfork.com/reviews/albums/21994-the-glowing-man/
  23. http://askearache.blogspot.com/2010/04/napalm-deaths-tributescovers-of-other.html
  24. https://www.vice.com/en_us/article/6vajmr/justin-broadrick-on-the-secret-history-of-godflesh
  25. http://www.markprindle.com/kingbuzzo-i.htm
  26. https://www.kerrang.com/features/kurt-cobains-50-favourite-albums/
  27. https://consequenceofsound.net/2016/10/maynard-james-keenan-details-how-tool-and-rage-against-the-machine-formed-in-new-biography/
  28. http://www.releasemagazine.net/Spotlight/spotlightmydyingbride.htm
  29. http://www.maelstromzine.com/ezine/interview_iss5_61.php
  30. http://www.maelstromzine.com/ezine/interview_iss25_165.php
  31. https://www.cosmiclava.com/reviews-interviews/interviews/2001/khanate.html
  32. http://www.spinner.com/2011/03/03/liturgy-sxsw-top-100/
  33. http://www.leseternels.net/interviews.aspx?id=152
  34. https://www.whatthesound.com/interviews/car-seat-headrest/