ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บอลเชวิค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Presidium of the 9th Congress of the Russian Communist Party (Bolsheviks).jpg|thumb|right|250px|การประชุมพรรคบอลเชวิค]]
[[ไฟล์:Presidium of the 9th Congress of the Russian Communist Party (Bolsheviks).jpg|thumb|right|250px|การประชุมพรรคบอลเชวิค]]


บรรทัด 6: บรรทัด 6:
ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า [[เมนเชวิค]] (Menshevik) ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย (Меньшинство) แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิคนำโดย [[จูเลียส มาร์ตอฟ]] เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน
ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า [[เมนเชวิค]] (Menshevik) ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย (Меньшинство) แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิคนำโดย [[จูเลียส มาร์ตอฟ]] เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน


การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุง[[บรัสเซลส์]]และ[[ลอนดอน]] เมื่อปี [[ค.ศ. 1903]] และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิคก็กลายมาเป็น[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]] พวกบอลเชวิคมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า [[ลัทธิบอลเชวิค]] (Bolshevism)
การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุง[[บรัสเซลส์]]และ[[ลอนดอน]] เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิคก็กลายมาเป็น[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]] พวกบอลเชวิคมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า [[ลัทธิบอลเชวิค]] (Bolshevism)

== จุดเริ่มของการแตกคอ ==
การแตกคอกันของเลนินและมาร์ตอฟ มีขึ้นหลังจากที่เลนินเสนอว่าควรจำกัดสมาชิกพรรคให้เป็นเฉพาะนักปฏิวัติมืออาชีพเท่านั้นแต่มาร์ตอฟไม่เห็นด้วย เบื้องต้นกลุ่มของเลนินถูกเรียกว่า "กลุ่มแข็ง" ซึ่งหมายถึงมีท่าทีที่แข็งกร้าวในเรื่องนี้ ส่วนกลุ่มของมาร์ตอฟเรียกกันว่า "กลุ่มอ่อน" จากท่าทีที่อ่อนโอนมากกว่ากลุ่มของเลนิน แต่ต่อมาก็เรียกกันว่า บอลเชวิค และ เมนเชวิค เนื่องจากเลนินมีผู้สนับสนุนมากกว่าเล็กน้อย และการที่ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถหาเสียงสนับสนุนอย่างเด็ดขาดได้ ในที่สุดในการประชุมครั้งนั้นก็มีการแยกกันเป็น 2 กลุ่มชัดเจน เดือนเมษายน [[ค.ศ. 1905]] บอลเชวิคจัดการประชุมสมาชิกกลุ่มที่ลอนดอน โดยเรียกว่าการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 3 ด้านเมนเชวิคก็จัดการประชุมขึ้นโต้ตอบมาบ้างและนั่นก็เป็นการแบ่งแยกกลุ่มกันอย่างเป็นทางการ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:30, 6 มิถุนายน 2563

การประชุมพรรคบอลเชวิค

บอลเชวิค (อังกฤษ: Bolshevik รัสเซีย: большеви́к) แผลงมาจากคำว่า Большинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิค หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (อังกฤษ: RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน

ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า เมนเชวิค (Menshevik) ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย (Меньшинство) แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิคนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน

การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิคก็กลายมาเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต พวกบอลเชวิคมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า ลัทธิบอลเชวิค (Bolshevism)

จุดเริ่มของการแตกคอ

การแตกคอกันของเลนินและมาร์ตอฟ มีขึ้นหลังจากที่เลนินเสนอว่าควรจำกัดสมาชิกพรรคให้เป็นเฉพาะนักปฏิวัติมืออาชีพเท่านั้นแต่มาร์ตอฟไม่เห็นด้วย เบื้องต้นกลุ่มของเลนินถูกเรียกว่า "กลุ่มแข็ง" ซึ่งหมายถึงมีท่าทีที่แข็งกร้าวในเรื่องนี้ ส่วนกลุ่มของมาร์ตอฟเรียกกันว่า "กลุ่มอ่อน" จากท่าทีที่อ่อนโอนมากกว่ากลุ่มของเลนิน แต่ต่อมาก็เรียกกันว่า บอลเชวิค และ เมนเชวิค เนื่องจากเลนินมีผู้สนับสนุนมากกว่าเล็กน้อย และการที่ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถหาเสียงสนับสนุนอย่างเด็ดขาดได้ ในที่สุดในการประชุมครั้งนั้นก็มีการแยกกันเป็น 2 กลุ่มชัดเจน เดือนเมษายน ค.ศ. 1905 บอลเชวิคจัดการประชุมสมาชิกกลุ่มที่ลอนดอน โดยเรียกว่าการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 3 ด้านเมนเชวิคก็จัดการประชุมขึ้นโต้ตอบมาบ้างและนั่นก็เป็นการแบ่งแยกกลุ่มกันอย่างเป็นทางการ

อ้างอิง