ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุดงมีชัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 102: บรรทัด 102:
}} <!-- Infobox ends -->
}} <!-- Infobox ends -->
{{ระวังสับสน|อุดรมีชัย}}
{{ระวังสับสน|อุดรมีชัย}}
'''อุดง''' ({{lang-km|ឧដុង្គ}}) (หรืออาจเรียกได้ว่า ''อุดงฦาไชย'' หรือ ''อุดงมีชัย'') เป็นเมืองใน[[ประเทศกัมพูชา]] ตั้งอยู่ในส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของ[[จังหวัดกำปงสปือ]] ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาของ"ภูเขาพนมอุดง"หรือ "เขาพระราชทรัพย์" ประมาณ 40 กิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองหลวงที่ทันสมัยคือ กรุง[[พนมเปญ]], อุดงมีชัยเป็นที่พำนักของราชวงศ์และเมืองหลวงของกัมพูชามานานกว่า 250 ปีจนถึงปี ค.ศ. 1866 เป็นเมืองหลวงอันยิ่งใหญ่ของพระมหากษัตริย์เขมรหลายศตวรรษที่กระจัดกระจายอยู่บนยอดเขาที่แบ่งเป็นสองส่วน ที่โดดเด่นซึ่งทอดยาวจากตะวันออกเฉียงใต้ไปตะวันออกเฉียงเหนือ<ref>{{cite web |url=http://www.phnompenhpost.com/national/buddha-chinese-deception |title= The Buddha of Chinese deception Oudong Mountain by Bou Saroeun |publisher= Phnom Penh Post |date= 22 June 2001 |accessdate=26 June 2015}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.khmerstudies.org/download-files/events/conferences/Phnom%20Bakheng%20Workshop/Claude%20Jacques%20-%2023-40.pdf?lbisphpreq=1 |title= THistory of the Phnom Bakheng Monument |publisher= Khmer Studies |date= |accessdate=26 June 2015}}</ref>
'''อุดง''' ({{lang-km|ឧដុង្គ}}) (หรืออาจเรียกได้ว่า ''อุดงฦาไชย'' หรือ ''อุดงมีชัย'') (ชื่อเดิม:บันทายเพชร) เป็นเมืองใน[[ประเทศกัมพูชา]] ตั้งอยู่ในส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของ[[จังหวัดกำปงสปือ]] ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาของ"ภูเขาพนมอุดง"หรือ "เขาพระราชทรัพย์" ประมาณ 40 กิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองหลวงที่ทันสมัยคือ กรุง[[พนมเปญ]], อุดงมีชัยเป็นที่พำนักของราชวงศ์และเมืองหลวงของกัมพูชามานานกว่า 250 ปีจนถึงปี ค.ศ. 1866 เป็นเมืองหลวงอันยิ่งใหญ่ของพระมหากษัตริย์เขมรหลายศตวรรษที่กระจัดกระจายอยู่บนยอดเขาที่แบ่งเป็นสองส่วน ที่โดดเด่นซึ่งทอดยาวจากตะวันออกเฉียงใต้ไปตะวันออกเฉียงเหนือ<ref>{{cite web |url=http://www.phnompenhpost.com/national/buddha-chinese-deception |title= The Buddha of Chinese deception Oudong Mountain by Bou Saroeun |publisher= Phnom Penh Post |date= 22 June 2001 |accessdate=26 June 2015}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.khmerstudies.org/download-files/events/conferences/Phnom%20Bakheng%20Workshop/Claude%20Jacques%20-%2023-40.pdf?lbisphpreq=1 |title= THistory of the Phnom Bakheng Monument |publisher= Khmer Studies |date= |accessdate=26 June 2015}}</ref>


==ชื่อเมือง==
==ชื่อเมือง==
บรรทัด 124: บรรทัด 124:
[[หมวดหมู่:จังหวัดกำปงสปือ]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดกำปงสปือ]]
[[หมวดหมู่:เมืองในประเทศกัมพูชา]]
[[หมวดหมู่:เมืองในประเทศกัมพูชา]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดของไทยในอดีต]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:14, 31 พฤษภาคม 2563

อุดงมีชัย

ឧដុង្គ
เมือง
พนมอุดง
พนมอุดง
สมญา: 
ราชธานีแห่งอดีตกษัตริย์
อุดงมีชัยตั้งอยู่ในประเทศกัมพูชา
อุดงมีชัย
อุดงมีชัย
ตำแหน่งที่ตั้งของเมืองอุดงมีชัย, ประเทศกัมพูชา
พิกัด: 11°49′26″N 104°44′33″E / 11.82389°N 104.74250°E / 11.82389; 104.74250
ประเทศธงของประเทศกัมพูชา กัมพูชา
จังหวัดกำปงสปือ
อำเภออุดง
เขตเวลาUTC+7 (กัมพูชา)

อุดง (เขมร: ឧដុង្គ) (หรืออาจเรียกได้ว่า อุดงฦาไชย หรือ อุดงมีชัย) (ชื่อเดิม:บันทายเพชร) เป็นเมืองในประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่ในส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดกำปงสปือ ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาของ"ภูเขาพนมอุดง"หรือ "เขาพระราชทรัพย์" ประมาณ 40 กิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองหลวงที่ทันสมัยคือ กรุงพนมเปญ, อุดงมีชัยเป็นที่พำนักของราชวงศ์และเมืองหลวงของกัมพูชามานานกว่า 250 ปีจนถึงปี ค.ศ. 1866 เป็นเมืองหลวงอันยิ่งใหญ่ของพระมหากษัตริย์เขมรหลายศตวรรษที่กระจัดกระจายอยู่บนยอดเขาที่แบ่งเป็นสองส่วน ที่โดดเด่นซึ่งทอดยาวจากตะวันออกเฉียงใต้ไปตะวันออกเฉียงเหนือ[1][2]

ชื่อเมือง

สถูปที่กรุงอุดงมีชัย

ชื่อของเมืองมาจากคำว่า "อุตตุงฺค" uttuṅga" (สันสกฤต: उत्तुङ्ग) ในภาษาสันสกฤต แปลว่า "สูง" ซึ่งอาจหมายถึงเขาพระราชทรัพย์ เนื่องจากภูเขาเป็นสถานที่ประกอบพิธีบุญต่างๆ และมีความสำคัญทางศาสนา คำนี้จึงอาจกินความหมายไปที่นัยที่ว่า "ยิ่งใหญ่" หรือ "สูงสุด" ก็ได้[3]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "The Buddha of Chinese deception Oudong Mountain by Bou Saroeun". Phnom Penh Post. 22 June 2001. สืบค้นเมื่อ 26 June 2015.
  2. "THistory of the Phnom Bakheng Monument" (PDF). Khmer Studies. สืบค้นเมื่อ 26 June 2015.
  3. "Sanskrit dictionary - uttunga : tall". Tamilcube. สืบค้นเมื่อ July 3, 2015.

หนังสือ

แหล่งข้อมูลอื่น