ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไซโกต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
.
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8430037 สร้างโดย 171.100.25.156 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
ไซโกตเกิดขึ้นจากการผสมเซลล์สืบพันธุ์สองเพศเสมอ และเป็นขั้นแรกของการเจริญของสิ่งมีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ โดยปกติไซโกตเกิดขึ้นจาก[[การปฏิสนธิ]]ระหว่างเซลล์แฮพลอยด์สองเซลล์ คือ [[ออวุม]] (เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย) กับ[[สเปิร์ม]] (เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้) ซึ่งรวมกันเกิดเป็นเซลล์ดิพลอยด์หนึ่งเซลล์ ไซโกตนั้นมีดีเอ็นเอที่มาจากทั้งพ่อและแม่ และให้ข้อมูลพันธุกรรมที่จำเป็นต่อการสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่
ไซโกตเกิดขึ้นจากการผสมเซลล์สืบพันธุ์สองเพศเสมอ และเป็นขั้นแรกของการเจริญของสิ่งมีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ โดยปกติไซโกตเกิดขึ้นจาก[[การปฏิสนธิ]]ระหว่างเซลล์แฮพลอยด์สองเซลล์ คือ [[ออวุม]] (เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย) กับ[[สเปิร์ม]] (เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้) ซึ่งรวมกันเกิดเป็นเซลล์ดิพลอยด์หนึ่งเซลล์ ไซโกตนั้นมีดีเอ็นเอที่มาจากทั้งพ่อและแม่ และให้ข้อมูลพันธุกรรมที่จำเป็นต่อการสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่


เป็นเกย์<br />
<br />


[[หมวดหมู่:ระบบสืบพันธุ์]]
[[หมวดหมู่:ระบบสืบพันธุ์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:42, 1 สิงหาคม 2562

ไซโกต (อังกฤษ: zygote) ไซโกไซต์ เป็นเซลล์เริ่มต้นที่ก่อตัวขึ้นเมื่อเซลล์สืบพันธุ์สองเพศผสมกันด้วยวิธีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไซโกตเป็นขั้นการเจริญแรกสุดของเอ็มบริโอ ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ไซโกตแบ่งตัวให้ลูกหลาน ซึ่งโดยปกติเป็นการแบ่งตัวแบบไมโอซิส

ไซโกตเกิดขึ้นจากการผสมเซลล์สืบพันธุ์สองเพศเสมอ และเป็นขั้นแรกของการเจริญของสิ่งมีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ โดยปกติไซโกตเกิดขึ้นจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล์แฮพลอยด์สองเซลล์ คือ ออวุม (เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย) กับสเปิร์ม (เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้) ซึ่งรวมกันเกิดเป็นเซลล์ดิพลอยด์หนึ่งเซลล์ ไซโกตนั้นมีดีเอ็นเอที่มาจากทั้งพ่อและแม่ และให้ข้อมูลพันธุกรรมที่จำเป็นต่อการสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่