ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sodacan (คุย | ส่วนร่วม)
vector version available (GlobalReplace v0.6.5)
Sodacan (คุย | ส่วนร่วม)
vector version available (GlobalReplace v0.6.5)
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
| <center>28</center> ||<center>[[ไฟล์:Order of the White Elephant - 4th Class (Thailand) ribbon.svg|80px]]</center> || เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น[[จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก]] || จ.ช.
| <center>28</center> ||<center>[[ไฟล์:Order of the White Elephant - 4th Class (Thailand) ribbon.svg|80px]]</center> || เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น[[จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก]] || จ.ช.
|-
|-
| <center>34</center> ||<center>[[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - 5th Class (Thailand) ribbon.png|80px]]</center> ||เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น[[เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย]] || บ.ม.
| <center>34</center> ||<center>[[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - 5th Class (Thailand) ribbon.svg|80px]]</center> ||เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น[[เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย]] || บ.ม.
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:30, 5 พฤษภาคม 2562

หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช

หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช
ไฟล์:หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช.jpg
หม่อมเจ้า
ประสูติ1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422
สิ้นชีพิตักษัย3 มีนาคม พ.ศ. 2472
พระนามเต็ม
หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช
พระบุตรหม่อมราชวงศ์ชัยธวัช ศรีธวัช
หม่อมราชวงศ์ทรงศรี สนิทวงศ์
ราชวงศ์ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ
พระมารดาหม่อมอุ่น

อำมาตย์เอก หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2472) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ กับหม่อมอุ่ม ทรงเข้าพิธีเกศากันต์ ณ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2432

หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ทรงเข้ารับราชการเป็นเลขานุการมณฑลอิสาณ พ.ศ. 2443 เป็นปลัดจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2454 รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2456 เลื่อนยศเป็นอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง พ.ศ. 2467 ผู้ว่าราชการจังหวัดสวรรคโลก พ.ศ. 2470 อำมาตย์เอก ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2471

หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ประชวรโรคเส้นโลหิตในสมองแตก ถึงชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2472 สิริชันษาได้ 51 ปี[1] ได้รับพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2474[2]

โอรส - ธิดา

  • หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช สมรสกับ หม่อมทรัพย์ ศรีธวัช มี บุตร - ธิดา ดังนี้
  • หม่อมราชวงศ์ชัยธวัช ศรีธวัช สมรสกับ นางประจวบ ศรีธวัช มี บุตร - ธิดา ดังนี้
    • หม่อมหลวงพรทิพย์ ศรีธวัช ( บุญวิริยะ )
    • หม่อมหลวงทิพาพร ศรีธวัช ( พร้อมพิณ )
    • หม่อมหลวงจิราพร ศรีธวัช ( เลขาขำ )
    • หม่อมหลวงสิทธิพร ศรีธวัช ( ถึงแก่กรรม )
    • หม่อมหลวงจิตประไพ ศรีธวัช ( คำคม )
    • หม่อมหลวงจิตรา ศรีธวัช
  • หม่อมราชวงศ์ทรงศรี ศรีธวัช ( สนิทวงศ์ ) สมรสกับ หม่อมหลวงประพันธ์ สนิทวงศ์ มี บุตร - ธิดา ดังนี้

โอรส - ธิดา

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

ลำดับเกียรติ เครื่องหมายแพรแถบ รายชื่อ อักษรย่อ
28
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นจัตุรถาภรณ์ช้างเผือก จ.ช.
34
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นเบญจมาภรณ์มงกุฎไทย บ.ม.

เหรียญบำเหน็จในราชการ

ลำดับที่ เครื่องหมายแพรแถบ รายชื่อ อักษรย่อ
10
เหรียญจักรพรรดิมาลา
ร.จ.พ.

อ้างอิง

  1. "ข่าวถึงชีพิตักษัย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 46: 4491. 23 มีนาคม 2472.
  2. "พระราชทานเพลิงศพ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 48: 499. 17 พฤษภาคม 2474. {{cite journal}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |1= (help)