ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาสวาฮีลี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
|fam8=[[ภาษากลุ่มแนร์โรว์ แบนตูกลาง|กลาง]]
|fam8=[[ภาษากลุ่มแนร์โรว์ แบนตูกลาง|กลาง]]
|fam9=[[ภาษากลุ่มแนร์โรว์ แบนตูกลาง G|G]]
|fam9=[[ภาษากลุ่มแนร์โรว์ แบนตูกลาง G|G]]
|nation=[[ประเทศแทนซาเนีย|แทนซาเนีย]] [[ประเทศเคนยา|เคนยา]]
|nation=[[ประเทศแทนซาเนีย|แทนซาเนีย]] [[ประเทศเคนยา|เคนยา]] [[สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก]] [[สหภาพแอฟริกา]] [[East African Community]] [[ประเทศรวันดา|รวันดา]] [[ประเทศยูกันดา|ยูกันดา]]
|iso1=sw|iso2=swa
|iso1=sw|iso2=swa
|lc1=swa|ld1=Swahili (generic)|ll1=none
|lc1=swa|ld1=Swahili (generic)|ll1=none

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:00, 10 กันยายน 2561

ภาษาสวาฮีลี
kiSwahili คิสวาฮีลี
ประเทศที่มีการพูดแทนซาเนีย เคนยา ยูกันดา รวันดา บุรุนดี คองโก-กินชาซา โซมาเลีย คอโมโรส (รวมมายอต) โมซัมบิก และมาลาวี
จำนวนผู้พูดประมาณ 10 ล้านคน
เป็นภาษาที่ 2: ประมาณ 70 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการแทนซาเนีย เคนยา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สหภาพแอฟริกา East African Community รวันดา ยูกันดา
รหัสภาษา
ISO 639-1sw
ISO 639-2swa
ISO 639-3มีหลากหลาย:
swa – Swahili (generic)
swc – Congo Swahili
swh – Swahili (specific)
  areas where Swahili or Comorian is the indigenous language
  ภาษาราชการหรือภาษาประจำชาติ
  as a trade language
[[File:
พื้นที่ที่มีคนพูดภาษาสวาฮีลี
|300px]]

ภาษาสวาฮีลี (หรือ คิสวาฮีลี) เป็นภาษากลุ่มแบนตูที่พูดอย่างกว้างขวางในแอฟริกาตะวันออก ภาษาสวาฮีลีเป็นภาษาแม่ของชาวสวาฮีลี ซึ่งอาศัยอยู่แถบชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกระหว่างประเทศโซมาเลียตอนใต้ ประเทศโมแซมบิกตอนเหนือ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 5 ล้านคนและคนพูดเป็นภาษาที่สองประมาณ 30-50 ล้านคน ภาษาสวาฮีลีได้กลายเป็นภาษาที่ใช้โดยทั่วไปในแอฟริกาตะวันออกและพื้นที่รอบ ๆ

คำว่า Swahili มาจากรูปพหูพจน์ของคำภาษาอาหรับ sahel ساحل (เอกพจน์) คือ sawahil سواحل แปลว่า "ขอบเขต" และ "ชายฝั่ง" (ใช้เป็นคำวิเศษณ์ที่แปลว่า "คนที่อาศัยอยู่ชายฝั่ง" หรือ "ภาษาชายฝั่ง") นอกจากนี้ คำว่า sahel ใช้เรียกพื้นที่พรมแดนของทะเลทรายซาฮารา การเพิ่ม "i" ตรงท้ายน่าจะมาจาก nisba ของภาษาอาหรับ (ของชายฝั่ง سواحلي) บ้างก็ว่าเป็นเหตุผลทางสัทศาสตร์

แหล่งข้อมูลอื่น