ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าผู้อารักขา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎สมัยเครือจักรภพแห่งอังกฤษ: เพิ่มข้อมูลตามวิกิภาษาอังกฤษ ทั้งนี้ หากแปลไม่สลวย หระผมต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎สมัยเครือจักรภพแห่งอังกฤษ: แปลเนื้อหาจากวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
<blockquote>โอลิเวอร์ ครอมเวลล์, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ จักเป็น, และด้วยคำประกาศในเอกสารฉบับนี้, เจ้าผู้อารักขาแห่งเครือจักรภพแห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์,และดินแดนใต้อาณัติ นับแต่บัดนี้ จนกว่าชีวิตจะหาไม่
<blockquote>โอลิเวอร์ ครอมเวลล์, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ จักเป็น, และด้วยคำประกาศในเอกสารฉบับนี้, เจ้าผู้อารักขาแห่งเครือจักรภพแห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์,และดินแดนใต้อาณัติ นับแต่บัดนี้ จนกว่าชีวิตจะหาไม่
</blockquote>
</blockquote>
รัฐธรรมนูญฉบับที่มาแทนที่ในปี ค.ศ. 1657, "ฎีกาและคําแนะนําอันนอบน้อม", ให้อำนาจเจ้าผู้อารักขาในการเลือกผู้สืบทอดได้. ครอมเวลล์จึงเลือก ริชาร์ด บุตรชายคนโตสุดที่ยังมีชีวิตอยู่ ผู้ซึ่งไม่มีประสบการณ์ในแวดวงการเมืองเลย เป็นผู้สืบทอด. นี้เป็นวิธีการเลือกผู้นําโดยไม่มีการลงคะแนนใดๆ และยังคล้ายคลึงกับการสืบสันติวงศ์ ในทางพฤตินัย
และยังมีการประดิษฐ์ธรรมเนียมยศอย่างกษัตริย์ ("โดยพระคุณของพระเจ้า และ สาธารณรัฐ
เจ้าผู้อารักขาแห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์") และจารีตแบบระบอบกษัตริย์ เช่น การแต่งตั้งอัศวิน.


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:41, 27 กรกฎาคม 2561

เจ้าผู้อารักขา (อังกฤษ: Lord Protector) เป็นตำแหน่งเฉพาะที่ใช้ในอังกฤษในฐานะผู้นำของประเทศซึ่งใช้ได้สองความหมายในช่วงเวลาในประวัติศาสตร์สองสมัย

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

เอ็ดเวิร์ด ซีมัวร์ ดยุกแห่งซัมเมอร์เซตที่ 1 “เจ้าผู้อารักขา” ในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6

ตำแหน่ง “เจ้าผู้อารักขา” เดิมใช้สำหรับเจ้านายหรือขุนนางคนใดคนหนึ่งที่ได้รับอำนาจให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ซึ่งมิใช่ตำแหน่งสำหรับคณะบุคคลที่มีหน้าที่เป็นคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (Regency council) ขณะที่พระมหากษัตริย์ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าที่จะทรงปกครองด้วยพระองค์เองได้

เจ้าผู้อารักขาอังกฤษคนสำคัญ เช่น

เจ้าผู้อารักขาสกอตแลนด์คนสำคัญ เช่น

สมัยเครือจักรภพแห่งอังกฤษ

เจ้าผู้อารักขาแห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์
ริชาร์ด ครอมเวลล์
การเรียกขานฮิสไฮเนส
จวนพระราชวังไวต์ฮอล
ผู้แต่งตั้งสืบทอดทางสายเลือด
สถาปนา16 ธันวาคม ค.ศ. 1653
คนแรกโอลิเวอร์ ครอมเวลล์
คนสุดท้ายริชาร์ด ครอมเวลล์
ยกเลิก25 พฤษภาคม ค.ศ. 1659
ธงประจำตำแหน่งเจ้าผู้อารักขา

ตำแหน่ง เจ้าผู้อารักขาแห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ เป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐระหว่างสมัยไร้กษัตริย์อังกฤษ (English Interregnum) ซึ่งตามมาจากสมัยการปกครองอยู่ชั่วระยะหนึ่งของเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ภายใต้ “สภาแห่งรัฐ” ผู้ที่ดำรงตำแหน่งคนแรกคือโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ที่ดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนธันวาคม ค.ศ. 1653 จนถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 1658 และต่อมาโดยริชาร์ด ครอมเวลล์ บุตรชาย ระหว่างเดือนกันยายน ค.ศ. 1658 จนถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1659 ซึ่งเป็นสมัยที่เรียกว่ายุครัฐในอารักขา (The Protectorate) เอกสาร "ตราสารการปกครอง" (รัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐ) ยังระบุไว้ด้วยว่า—

โอลิเวอร์ ครอมเวลล์, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ จักเป็น, และด้วยคำประกาศในเอกสารฉบับนี้, เจ้าผู้อารักขาแห่งเครือจักรภพแห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์,และดินแดนใต้อาณัติ นับแต่บัดนี้ จนกว่าชีวิตจะหาไม่

รัฐธรรมนูญฉบับที่มาแทนที่ในปี ค.ศ. 1657, "ฎีกาและคําแนะนําอันนอบน้อม", ให้อำนาจเจ้าผู้อารักขาในการเลือกผู้สืบทอดได้. ครอมเวลล์จึงเลือก ริชาร์ด บุตรชายคนโตสุดที่ยังมีชีวิตอยู่ ผู้ซึ่งไม่มีประสบการณ์ในแวดวงการเมืองเลย เป็นผู้สืบทอด. นี้เป็นวิธีการเลือกผู้นําโดยไม่มีการลงคะแนนใดๆ และยังคล้ายคลึงกับการสืบสันติวงศ์ ในทางพฤตินัย และยังมีการประดิษฐ์ธรรมเนียมยศอย่างกษัตริย์ ("โดยพระคุณของพระเจ้า และ สาธารณรัฐ เจ้าผู้อารักขาแห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์") และจารีตแบบระบอบกษัตริย์ เช่น การแต่งตั้งอัศวิน.

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. JS Richardson, PSAS, vol. 75, (1940-41), 184-204, "Mural Decorations at Kinneil" (PDF).