ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทนายความที่ปรึกษา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "โซลิซิเตอร์" → "ทนายที่ปรึกษาความ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''โซลิซิเตอร์''' ({{lang-en|solicitor}}) เป็น[[ผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมาย]] (legal practitioner) ในบางเขตอำนาจ ซึ่งโดยประเพณีแล้วมีบทบาทข้องเกี่ยวกับกิจการกฎหมายส่วนใหญ่ บุคคลที่จะเป็นโซลิซิเตอร์ต้องมี[[การรับเข้าประกอบวิชาชีพกฎหมาย|คุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด]] ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละท้องที่ เช่น ในอังกฤษและเวลส์ โซลิซิเตอร์จะได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพตามบทบัญญัติของ[[พระราชบัญญัติโซลิซิเตอร์ ค.ศ. 1974]] (Solicitors Act 1974) อนึ่ง โซลิซิเตอร์ยังต้องมี[[ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ]] เว้นแต่กรณียกเว้นบางประการ และในอังกฤษ ยังมีโซลิซิเตอร์มากกว่า[[เนติบัณฑิต|แบร์ริสเตอร์]] (barrister) เพื่อทำหน้าที่ทั่วไปในการให้คำปรึกษาทางกฎหมาย และดำเนินกระบวนพิจารณาทางกฎหมาย<ref>A Dictionary of Law (7 ed.), J Law and EA Martin, Oxford University Press, 2009, {{ISBN|9780191726729}}</ref>
'''ทนายที่ปรึกษาความ''' ({{lang-en|solicitor}}) เป็น[[ผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมาย]] (legal practitioner) ในบางเขตอำนาจ ซึ่งโดยประเพณีแล้วมีบทบาทข้องเกี่ยวกับกิจการกฎหมายส่วนใหญ่ บุคคลที่จะเป็นทนายที่ปรึกษาความต้องมี[[การรับเข้าประกอบวิชาชีพกฎหมาย|คุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด]] ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละท้องที่ เช่น ในอังกฤษและเวลส์ ทนายที่ปรึกษาความจะได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพตามบทบัญญัติของ[[พระราชบัญญัติทนายที่ปรึกษาความ ค.ศ. 1974]] (Solicitors Act 1974) อนึ่ง ทนายที่ปรึกษาความยังต้องมี[[ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ]] เว้นแต่กรณียกเว้นบางประการ และในอังกฤษ ยังมีทนายที่ปรึกษาความมากกว่า[[เนติบัณฑิต|แบร์ริสเตอร์]] (barrister) เพื่อทำหน้าที่ทั่วไปในการให้คำปรึกษาทางกฎหมาย และดำเนินกระบวนพิจารณาทางกฎหมาย<ref>A Dictionary of Law (7 ed.), J Law and EA Martin, Oxford University Press, 2009, {{ISBN|9780191726729}}</ref>


ในสหราชอาณาจักร, รัฐบางรัฐของออสเตรเลีย, ฮ่องกง, แอฟริกาใต้ ที่ซึ่งเรียก โซลิซิเตอร์ ว่า [[อัตเทอร์นีย์ในแอฟริกาใต้|อัตเทอร์นีย์]] (attorney), และไอร์แลนด์ วิชาชีพกฎหมายแบ่งออกเป็นสองอย่างต่างกัน คือ โซลิซิเตอร์ อย่างหนึ่ง กับ แบร์ริสเตอร์ หรือบางแห่งเรียก [[แอตโวเคต]] (advocate) อีกอย่างหนึ่ง โดยนักกฎหมายมักเป็นได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างนี้เท่านั้น ทว่า ในแคนาดา มาเลเซีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ และรัฐส่วนใหญ่ในออสเตรเลีย วิชาชีพกฎหมายในปัจจุบันเป็นไปใน[[วิชาชีพประสม|ทางผสมผสาน]] โดยอนุญาตให้นักกฎหมายเป็นได้ทั้งแบร์ริสเตอร์และโซลิซิเตอร์ ดังนั้น ผู้สำเร็จการศึกษากฎหมายอาจเริ่มอาชีพอย่างหนึ่งแล้วจึงมีคุณสมบัติสำหรับอีกอย่างหนึ่งได้<ref>{{cite web|url=http://www.aspiringsolicitors.co.uk/converting-barrister-solicitor/|title=Converting From Barrister To Solicitor|work=Aspiring Solicitors|accessdate=17 August 2015}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.moretolaw.com/interesting/excitysolicitorswitchestothebar.php|title=Ex-Freshfields solicitor switches to the Bar|publisher=|accessdate=17 August 2015}}</ref>
ในสหราชอาณาจักร, รัฐบางรัฐของออสเตรเลีย, ฮ่องกง, แอฟริกาใต้ ที่ซึ่งเรียก ทนายที่ปรึกษาความ ว่า [[อัตเทอร์นีย์ในแอฟริกาใต้|อัตเทอร์นีย์]] (attorney), และไอร์แลนด์ วิชาชีพกฎหมายแบ่งออกเป็นสองอย่างต่างกัน คือ ทนายที่ปรึกษาความ อย่างหนึ่ง กับ แบร์ริสเตอร์ หรือบางแห่งเรียก [[แอตโวเคต]] (advocate) อีกอย่างหนึ่ง โดยนักกฎหมายมักเป็นได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างนี้เท่านั้น ทว่า ในแคนาดา มาเลเซีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ และรัฐส่วนใหญ่ในออสเตรเลีย วิชาชีพกฎหมายในปัจจุบันเป็นไปใน[[วิชาชีพประสม|ทางผสมผสาน]] โดยอนุญาตให้นักกฎหมายเป็นได้ทั้งแบร์ริสเตอร์และทนายที่ปรึกษาความ ดังนั้น ผู้สำเร็จการศึกษากฎหมายอาจเริ่มอาชีพอย่างหนึ่งแล้วจึงมีคุณสมบัติสำหรับอีกอย่างหนึ่งได้<ref>{{cite web|url=http://www.aspiringsolicitors.co.uk/converting-barrister-solicitor/|title=Converting From Barrister To Solicitor|work=Aspiring Solicitors|accessdate=17 August 2015}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.moretolaw.com/interesting/excitysolicitorswitchestothebar.php|title=Ex-Freshfields solicitor switches to the Bar|publisher=|accessdate=17 August 2015}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 7: บรรทัด 7:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[ทนายแก้ต่าง]]
* [[ทนายความ]]


[[หมวดหมู่:วิชาชีพกฎหมาย]]
[[หมวดหมู่:วิชาชีพกฎหมาย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:03, 1 พฤศจิกายน 2560

ทนายที่ปรึกษาความ (อังกฤษ: solicitor) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมาย (legal practitioner) ในบางเขตอำนาจ ซึ่งโดยประเพณีแล้วมีบทบาทข้องเกี่ยวกับกิจการกฎหมายส่วนใหญ่ บุคคลที่จะเป็นทนายที่ปรึกษาความต้องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละท้องที่ เช่น ในอังกฤษและเวลส์ ทนายที่ปรึกษาความจะได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติทนายที่ปรึกษาความ ค.ศ. 1974 (Solicitors Act 1974) อนึ่ง ทนายที่ปรึกษาความยังต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เว้นแต่กรณียกเว้นบางประการ และในอังกฤษ ยังมีทนายที่ปรึกษาความมากกว่าแบร์ริสเตอร์ (barrister) เพื่อทำหน้าที่ทั่วไปในการให้คำปรึกษาทางกฎหมาย และดำเนินกระบวนพิจารณาทางกฎหมาย[1]

ในสหราชอาณาจักร, รัฐบางรัฐของออสเตรเลีย, ฮ่องกง, แอฟริกาใต้ ที่ซึ่งเรียก ทนายที่ปรึกษาความ ว่า อัตเทอร์นีย์ (attorney), และไอร์แลนด์ วิชาชีพกฎหมายแบ่งออกเป็นสองอย่างต่างกัน คือ ทนายที่ปรึกษาความ อย่างหนึ่ง กับ แบร์ริสเตอร์ หรือบางแห่งเรียก แอตโวเคต (advocate) อีกอย่างหนึ่ง โดยนักกฎหมายมักเป็นได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างนี้เท่านั้น ทว่า ในแคนาดา มาเลเซีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ และรัฐส่วนใหญ่ในออสเตรเลีย วิชาชีพกฎหมายในปัจจุบันเป็นไปในทางผสมผสาน โดยอนุญาตให้นักกฎหมายเป็นได้ทั้งแบร์ริสเตอร์และทนายที่ปรึกษาความ ดังนั้น ผู้สำเร็จการศึกษากฎหมายอาจเริ่มอาชีพอย่างหนึ่งแล้วจึงมีคุณสมบัติสำหรับอีกอย่างหนึ่งได้[2][3]

อ้างอิง

  1. A Dictionary of Law (7 ed.), J Law and EA Martin, Oxford University Press, 2009, ISBN 9780191726729
  2. "Converting From Barrister To Solicitor". Aspiring Solicitors. สืบค้นเมื่อ 17 August 2015.
  3. "Ex-Freshfields solicitor switches to the Bar". สืบค้นเมื่อ 17 August 2015.

ดูเพิ่ม