ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสิร์ชเอนจิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fanclub25 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{จัดรูปแบบ}}
'''เสิร์ชเอนจิน''' (search engine) หรือ '''โปรแกรมค้นหา'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติคำว่า search engine คือ โปรแกรมค้นหา] ชื่อใน[[ศัพท์บัญญัติ]] ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิ.ย. 2551</ref> คือ [[โปรแกรม]]ที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบน[[อินเทอร์เน็ต]] โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจาก[[คำสำคัญ (สารสนเทศ)|คำสำคัญ]] (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น [[กูเกิล]] จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป
'''เสิร์ชเอนจิน''' (search engine) หรือ '''โปรแกรมค้นหา'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติคำว่า search engine คือ โปรแกรมค้นหา] ชื่อใน[[ศัพท์บัญญัติ]] ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิ.ย. 2551</ref> คือ [[โปรแกรม]]ที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบน[[อินเทอร์เน็ต]] โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจาก[[คำสำคัญ (สารสนเทศ)|คำสำคัญ]] (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น [[กูเกิล]] จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:29, 13 กรกฎาคม 2559

เสิร์ชเอนจิน (search engine) หรือ โปรแกรมค้นหา[1] คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิล จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป

รายชื่อเสิร์ชเอนจินเรียงลำดับตามความนิยม

สัดส่วนของผู้ใช้ในสหรัฐอเมริกา [2]

  1. กูเกิ้ล (Google) 69.5%
  2. บิง (Bing) 25% *[2]
  3. ยาฮู(Yahoo!)
  4. อาสก์ (Ask) 3%
  5. เอโอแอล (AOL) 0.6%
  6. อื่นๆ

เสิร์ชเอนจินอื่นๆ

เสิร์ชเอนจินในอดีตที่ปัจจุบันยกเลิกการใช้งานแล้ว

ในประเทศไทยมีการพัฒนาเครื่องมือค้นหาของไทยในชื่อ สรรสาร พัฒนาโดยเนคเทค

ประเภทของเครื่องมือค้นหา

  • Catalog based search engine เป็นโปรแกรมสืบค้นข้อมูลในอินเทอร์เน็ตชนิดหนึ่ง โดยโปรแกรมจะรวบรวม และแยกจัดเก็บเว็บไว้ในฐานข้อมูลตามประเภทหัวข้อของเว็บ เมื่อผู้ใช้มาค้นหา ก็จะสามารถเข้าไปดูตามหัวข้อต่าง ๆ แล้วดูหัวข้อย่อย ๆ เข้าไปอีกจนกว่าจะเจอหัวข้อหรือเรื่องที่ต้องการ ตัวอย่าง catalog based search engine คือ Yahoo เป็นต้น ซึ่งจะต่างกับ query based search engine ที่จะต้องพิมพ์คำค้นหาเพื่อตรวจสอบกับฐานข้อมูลว่ามีข้อมูลนี้หรือไม่ ถ้ามีก็จะแสดงรายชื่อออกมา

หลักการทำงานของเสิร์ชเอนจิน

  • การตรวจค้นหาข้อมูลในเว็บเพจต่างๆ
  • ทำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลที่ได้ทำการตรวจค้นไว้ในฐานข้อมูล
  • การแสดงผลการค้นหาข้อมูล
  • หลักการทำงานของ Search Engine คือ ระบบ Search Engine จะสร้างระบบเก็บข้อมูล หรือที่เรียกว่า Google Bot สำหรับไต่ (Crawl) ตาม Links ต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลเว็บต่างๆ ไปไว้ใน Server และจะถูกจัดอันดับด้วยระบบ Algorithm ที่จะประมวลผลว่าเว็บไหนมีคุณภาพ และเกี่ยวก้บเรื่องอะไร โดยจะจัดเก็บข้อมูลไว้ตามหมวดหมู่ต่างๆ เมื่อผู้ค้นหาข้อมูลผ่านทาง Search Bot ด้วย Keyword ต่างๆ ระบบ Search Engine จะไปค้นหาข้อมูลเหล่านั้นมาแสดงผลให้ผู้ค้นหาข้อมูล

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติคำว่า search engine คือ โปรแกรมค้นหา ชื่อในศัพท์บัญญัติ ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิ.ย. 2551
  2. สัดส่วนผู้ใช้งานเสิร์ชเอนจิน ข้อมูลจากเสิร์ชเอนจินอีบิทเอ็มบีเอ พฤศจิกายน ปี 2558
  3. [1]
  4. Where Google Isn't Goliath BusinessWeek