ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิลเลียม กิลเบิร์ต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Supotmails (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มลักษณะนักดาราศาสตร์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:William Gilbert.jpg|thumb|right|วิลเลียม กิลเบิร์ต]]
[[ไฟล์:William Gilbert.jpg|thumb|right|วิลเลียม กิลเบิร์ต]]


'''วิลเลียม กิลเบิร์ต''' (William Gilbert) เกิดเมื่อ [[24 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1544]] [[โคลเชสเตอร์]] ใน[[อังกฤษ]] และถึงแก่กรรมเมื่อ [[30 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1603]] (อาจจะใน[[ลอนดอน]]) เป็นหมอหลวงประจำพระราชินี [[สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1|อะลิซาเบธที่ 1]] และพระเจ้า[[เจมส์ที่ 1]] แห่งอังกฤษ ทั้งยังเป็นนักค้นคว้าวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับ[[แม่เหล็ก]]และ[[ไฟฟ้า]] ที่สำคัญคือ เขาเป็นคนค้นคิดคำ "electricity" หรือ [[ไฟฟ้า]] นั่นเอง
'''วิลเลียม กิลเบิร์ต''' (William Gilbert) เกิดเมื่อ [[24 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1544]] [[โคลเชสเตอร์]] ใน[[อังกฤษ]] และถึงแก่กรรมเมื่อ [[30 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1603]] (อาจจะใน[[ลอนดอน]]) เป็นหมอหลวงประจำพระราชินี [[สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1|อะลิซาเบธที่ 1]] และพระเจ้า[[เจมส์ที่ 1]] แห่งอังกฤษ ทั้งยังเป็นนักดาราศาสตร์และนักค้นคว้าวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับ[[แม่เหล็ก]]และ[[ไฟฟ้า]] ที่สำคัญคือ เขาเป็นคนค้นคิดคำ "electricity" หรือ [[ไฟฟ้า]] นั่นเอง


ผลงานชิ้นแรกของเขา คือ ''De Magnete, Magneticisque Corporibus, et de Magno Magnete Tellure'' (ว่าด้วยแม่เหล็ก และวัตถุสภาพแม่เหล็ก และว่าด้วยแม่เหล็กใหญ่ของโลก) ตีพิมพ์เมื่อ [[ค.ศ. 1600]] ในงานชิ้นนี้ เขาได้บรรยายถึงการทดลองของเขามากมายด้วยลูกโลกจำลอง ที่เรียกว่า "เทอร์เรลลา" (terrella)
ผลงานชิ้นแรกของเขา คือ ''De Magnete, Magneticisque Corporibus, et de Magno Magnete Tellure'' (ว่าด้วยแม่เหล็ก และวัตถุสภาพแม่เหล็ก และว่าด้วยแม่เหล็กใหญ่ของโลก) ตีพิมพ์เมื่อ [[ค.ศ. 1600]] ในงานชิ้นนี้ เขาได้บรรยายถึงการทดลองของเขามากมายด้วยลูกโลกจำลอง ที่เรียกว่า "เทอร์เรลลา" (terrella)
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
สิ่งที่กิลเบิร์ตเรียกว่า สภาพแม่เหล็ก นั้น คือแรงที่มองไม่เห็น ที่นักปรัชญาธรรมชาติคนอื่นๆ จำนวนมาก เช่น [[โยฮันส์ เคปเลอร์]] เคยเชื่อมั่น ว่าเป็นตัวควบคุมการเลื่อนไหวต่างๆ ที่พวกตนได้สังเกต
สิ่งที่กิลเบิร์ตเรียกว่า สภาพแม่เหล็ก นั้น คือแรงที่มองไม่เห็น ที่นักปรัชญาธรรมชาติคนอื่นๆ จำนวนมาก เช่น [[โยฮันส์ เคปเลอร์]] เคยเชื่อมั่น ว่าเป็นตัวควบคุมการเลื่อนไหวต่างๆ ที่พวกตนได้สังเกต


หน่วย "[[กิลเบิร์ต]]" อันเป็นหน่วยของ [[แรงเคลื่อนแม่เหล็ก]] (magnetomotive force) ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า magnetic potential นั้น ก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่วิเลียม กิลเบิร์ตนี่เอง
หน่วย "[[กิลเบิร์ต]]" อันเป็นหน่วยของ [[แรงเคลื่อนแม่เหล็ก]] (magnetomotive force) ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า magnetic potential นั้น ก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่วิเลียม กิลเบิร์ตนี่เอง


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:39, 1 ธันวาคม 2558

วิลเลียม กิลเบิร์ต

วิลเลียม กิลเบิร์ต (William Gilbert) เกิดเมื่อ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1544 โคลเชสเตอร์ ในอังกฤษ และถึงแก่กรรมเมื่อ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1603 (อาจจะในลอนดอน) เป็นหมอหลวงประจำพระราชินี อะลิซาเบธที่ 1 และพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ทั้งยังเป็นนักดาราศาสตร์และนักค้นคว้าวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับแม่เหล็กและไฟฟ้า ที่สำคัญคือ เขาเป็นคนค้นคิดคำ "electricity" หรือ ไฟฟ้า นั่นเอง

ผลงานชิ้นแรกของเขา คือ De Magnete, Magneticisque Corporibus, et de Magno Magnete Tellure (ว่าด้วยแม่เหล็ก และวัตถุสภาพแม่เหล็ก และว่าด้วยแม่เหล็กใหญ่ของโลก) ตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1600 ในงานชิ้นนี้ เขาได้บรรยายถึงการทดลองของเขามากมายด้วยลูกโลกจำลอง ที่เรียกว่า "เทอร์เรลลา" (terrella)

จากการทดลองของเขา เขาสรุปได้ว่าโลกนั้น ก็คือตัวแม่เหล็กเอง และสรุปว่า นี่คือเหตุผลที่ทำให้เข็มทิศชี้ไปทางทิศเหนือ (ก่อนนี้บางคนเชื่อว่า เข็มทิศชี้ไปหาดาวเหนือ หรือเกาะแม่เหล็กขนาดใหญ่ทางขั้วโลกเหนือ ซึ่งเป็นตัวดึงดูดเข็มทิศ)

ในหนังสือเล่มนี้ เขายังได้ศึกษาถึงไฟฟ้าสถิต โดยการใช้แท่งอำพัน (อำพัน เป็นยางไม้แข็ง สีเหลืองอมน้ำตาล ในภาษากรีกเรียกว่า เอเล็กตรอน (elektron) ด้วยเหตุนี้ กิลเบิร์ตจึงเรียกปรากฏการณ์ที่ตนค้นพบว่า "electric force" (แรงไฟฟ้า)

สิ่งที่กิลเบิร์ตเรียกว่า สภาพแม่เหล็ก นั้น คือแรงที่มองไม่เห็น ที่นักปรัชญาธรรมชาติคนอื่นๆ จำนวนมาก เช่น โยฮันส์ เคปเลอร์ เคยเชื่อมั่น ว่าเป็นตัวควบคุมการเลื่อนไหวต่างๆ ที่พวกตนได้สังเกต

หน่วย "กิลเบิร์ต" อันเป็นหน่วยของ แรงเคลื่อนแม่เหล็ก (magnetomotive force) ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า magnetic potential นั้น ก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่วิเลียม กิลเบิร์ตนี่เอง

อ้างอิง

  • Stephen Pumfrey & David Tilley, "William Gilbert: forgotten genius", Physics World, November 2003; ฉบับออนไลน์
  • "De Magnete" ("ว่าด้วยแม่เหล็ก") โดย วิลเลียม กิลเบิร์ต แปลเมื่อ ค.ศ. 1893 จากภาษาละติน เป็นภาษาอังกฤษ โดย Paul Fleury Mottelay สำนักพิมพ์ Dover Books

แหล่งข้อมูลอื่น