ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูกาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่ใ่ชความรู้
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


ใน[[เขตอบอุ่น]]และ[[เขตหนาว]] จะแบ่งออกเป็น 4 ฤดู ได้แก่ [[ฤดูใบไม้ผลิ]] [[ฤดูร้อน]] [[ฤดูใบไม้ร่วง]] และ[[ฤดูหนาว]] ซึ่งโดยทั่วไป ฤดูในเขตอบอุ่นของซีกโลกเหนือจะมีระยะเวลาดังนี้
ใน[[เขตอบอุ่น]]และ[[เขตหนาว]] จะแบ่งออกเป็น 4 ฤดู ได้แก่ [[ฤดูใบไม้ผลิ]] [[ฤดูร้อน]] [[ฤดูใบไม้ร่วง]] และ[[ฤดูหนาว]] ซึ่งโดยทั่วไป ฤดูในเขตอบอุ่นของซีกโลกเหนือจะมีระยะเวลาดังนี้
* วสันตฤดู หรือฤดูใบไม้ผลิ: [[21 มีนาคม]] - [[20 มิถุนายน]]
* ฤดูร้อน คือ ฤดูที่อุลตร้าแมนจะมีพลังมากที่สุด เพราะแสงจากพระอาทิตย์ ฉายแสงและมีความร้อนมากที่สุด ในบรรดาฤดูต่างๆ
* คิมหันตฤดู หรือฤดูร้อน: [[21 มิถุนายน]] - [[21 กันยายน]]
* คิมหันตฤดู หรือฤดูร้อน: [[21 มิถุนายน]] - [[21 กันยายน]]
* สารทฤดู หรือฤดูใบไม้ร่วง: [[22 กันยายน]] - [[21 ธันวาคม]]
* สารทฤดู หรือฤดูใบไม้ร่วง: [[22 กันยายน]] - [[21 ธันวาคม]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:36, 10 กุมภาพันธ์ 2558

การโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลก

ฤดูกาล (อังกฤษ: Season) เป็นช่วงเวลาในแต่ละปีที่แบ่งตามสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป เกิดขึ้นจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ เนื่องจากแกนโลกเอียงเป็นมุม 23.5 องศา จึงทำให้ในแต่ละช่วงของปี แต่ละบริเวณจะได้รับแสงแดดไม่เท่ากัน ทำให้มีอุณหภูมิต่างกัน จึงเกิดเป็นฤดูกาลต่าง ๆ ขึ้น

ในเขตอบอุ่นและเขตหนาว จะแบ่งออกเป็น 4 ฤดู ได้แก่ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว ซึ่งโดยทั่วไป ฤดูในเขตอบอุ่นของซีกโลกเหนือจะมีระยะเวลาดังนี้

ในเขตร้อน จะแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูหนาว (รวมกันเรียกว่า "ฤดูแล้ง") และฤดูฝน

สาเหตุในการเกิดฤดูกาล

ภาพแสดงให้เห็นโลกในฤดูต่างๆ
Fig. 1
This is a diagram of the seasons. Regardless of the time of day (i.e. the Earth's rotation on its axis), the North Pole will be dark, and the South Pole will be illuminated; see also arctic winter. In addition to the density of incident light, the dissipation of light in the atmosphere is greater when it falls at a shallow angle.

ฤดูกาลเกิดขึ้นเนื่องจากการเอียงของแกนโลกที่เอียงทำมุมประมาณ 23.5 องศากับระนาบการหมุนของโลก ส่งผลให้ระยะเวลาในช่วงกลางวันและกลางคืน รวมถึงการดูดซับพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงของปี นั่นคือในช่วงที่ซีกโลกเหนือหันเข้าหาดวงอาทิตย์ซึ่งถือว่าเป็นช่วงฤดูร้อนของซีกโลกเหนือเนื่องจากได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์มากที่สุดและมีกลางวันที่ยาวนานที่สุด ทางซีกโลกใต้จะห่างจากดวงอาทิตย์มากที่สุด นั่นคือเป็นฤดูหนาวของซีกโลกใต้ซึ่งมีกลางวันที่สั้นที่สุด

อ้างอิง