ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมู่โลหิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
# คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A(II),O(ii) ให้ได้กับ A,AB (No...incorrect! รับได้เฉพาะ A เท่านั้น แต่แต่งงานกับเลือดกรุ๊ป A,B,AB,Oได้ 1 man 1 wife)
# คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A(II),O(ii) ให้ได้กับ A,AB (No...incorrect! รับได้เฉพาะ A เท่านั้น แต่แต่งงานกับเลือดกรุ๊ป A,B,AB,Oได้ 1 man 1 wife)
# คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B(Ii),O(ii) ให้ได้กับ B,AB (No...incorrect! รับได้เฉพาะ B เท่านั้น แต่แต่งงานกับเลือดกรุ๊ป A,B,AB,Oได้ 1 man 1 wife)
# คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B(Ii),O(ii) ให้ได้กับ B,AB (No...incorrect! รับได้เฉพาะ B เท่านั้น แต่แต่งงานกับเลือดกรุ๊ป A,B,AB,Oได้ 1 man 1 wife)
และคนที่ได้รับเลือดจากกรุ๊ปอื่น จะสามารถรับได้เพียงครั้งเดียวในชีวิต เพราะถ้าเกิดมีครั้งที่สอง จะทำให้เลือดตกตะกอนและจับตัวเป็นก้อน และจะมีการเสียชีวิตเกิดขึ้นหรือจะเป็นเอดส์แทนก็เป็นไปได้ (Silly)
และคนที่ได้รับเลือดจากกรุ๊ปอื่น จะสามารถรับได้เพียงครั้งเดียวในชีวิต เพราะถ้าเกิดมีครั้งที่สอง จะทำให้เลือดตกตะกอนและจับตัวเป็นก้อน และจะมีการเสียชีวิตเกิดขึ้นหรือจะเป็นเอดส์แทนก็เป็นไปได้ (No...Silly!... Do you eat food one time per meal in one day? hahahaha)


== บทสรุปหมู่โลหิต ==
== บทสรุปหมู่โลหิต ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:17, 17 เมษายน 2557

หมู่โลหิต, แอนติเจนของหมู่เลือด ABO แสดงบนเซลล์เมดเลือด

หมู่โลหิต (อังกฤษ: blood type หรือ blood group) คือ การแยกแยะเลือดเป็นหมวดหมู่ โดยทั่วไปที่ใช้มีสองระบบคือ ระบบเอบีโอ (ABO System) และ ระบบอาร์เอช (Rh System) โดยจำแนกตามแอนติเจน (Antigen) บนเม็ดเลือดแดงที่มีอยู่

ระบบหมู่เลือด

การจำแนกหมู่เลือดที่สมบูรณ์จะประกอบด้วยการระบุสารผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง 30 ชนิด ดังนั้นหมู่เลือดของคนคนหนึ่งจะเป็นส่วนประกอบของชนิดของแอนติเจนย่อยต่างๆ ประกอบกัน สารผิวเซลล์ 30 ชนิดนี้ มีการพบแอนติเจนที่แตกต่างกันแล้วกว่า 600 แบบ แต่บางแบบเป็นชนิดหายาก อาจพบเฉพาะในบางชนเผ่าหรือเชื้อชาติ

ABO System

แบ่งออกได้เป็นสี่หมู่ คือ A , B , AB และ O (หมู่เลือด O พบมากที่สุด, B กับ A พบได้มากพอๆ กัน และ AB มีน้อยที่สุด)

Rh System

จะมีสารโปรตีนที่อยู่บนผิวของเม็ดเลือดแดง ซึ่งเรียกว่า แอนติเจน-ดี (Antigen-D) เป็นตัวบ่งบอกหมู่โลหิตระบบ Rh(D) แบ่งออกเป็น 2 หมู่คือ

  1. +ve หรือ Rh+ve หรือ อาร์เอชบวก (Rh+positive) คือ พวกที่มี Rh (Rhesus) Antigen-D บนเม็ดเลือดแดง พวกนี้จะพบได้มาก ซึ่งเกือบทั้งหมดของคนไทยเป็นพวกนี้
  2. -ve หรือ Rh-ve หรือ อาร์เอชลบ (Rh-negative) คือ พวกที่ไม่มี Rh (Rhesus) Antigen-D บนเม็ดเลือดแดง พวกนี้จะพบได้น้อยมาก คนไทยเราพบเลือดพวกนี้เพียง 0.03% เป็นพวกที่บางครั้งอาจถูกเรียกว่าเป็นผู้มีโลหิตหมู่พิเศษ ซึ่งจะพบได้มากขึ้นในชาวไทยซิกข์ (แต่ในคนกลุ่มนี้ แม้ว่าจะมีโอกาสตรวจพบ Rh-ve ได้มากกว่าคนไทยปกติ แต่โดยส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นพวก Rh+ve อยู่ดี)

ตัวอย่างการรายงานกลุ่มเลือด เช่น A+ve คือเลือดกรุ๊ป A Rh+ve ตามปกติ ส่วน AB-ve เป็นเลือดกรุ๊ป AB และเป็นหมู่เลือดพิเศษ Rh-ve ซึ่งหายากที่สุด โดยปกติแล้วโลหิตหมู่ AB ในคนไทยพบน้อยกว่า 5% ซึ่งถ้าเป็น AB-ve จะพบแค่ 1.5 คน ในหมื่นคนเท่านั้น

มารดาและบุตรในครรภ์ หากกลุ่มเลือด Rh System ไม่ตรงกัน (มีโอกาสเกิดน้อยมากในคนไทย) มีโอกาสทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนได้ เช่น ภาวะตัวเหลืองในเด็กแรกเกิด ตับและม้ามโต หัวใจทำงานไม่ปกติ และถ้าตัวเหลืองมากๆ จะมีอาการระบบประสาท และสมองเสื่อม

วิธีป้องกันที่ดีที่สุด และทำได้คือตรวจโลหิตก่อนแต่งงานหรือก่อนมีครรภ์และถ้าแม่เป็นหมู่โลหิต อาร์เอชลบ ลูกที่คลอดคนแรกมีหมู่โลหิตอาร์เอชบวก ต้องรีบฉีดยาป้องกันให้แม่ภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด

การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด

  1. คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย (หากคนเลือดกรุ๊ป Rh-ve รับเลือดจาก Rh+ve อาการข้างเคียงจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น ในครั้งถัดๆไป)
  2. คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O(ii) เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป (No...Incorrect!ให้ได้เฉพาะ O เท่านั้นตรงๆ แต่แต่งงานกับเลือดกรุ๊ป A,B,AB,Oได้เพียง 1 คน)
  3. คนเลือดกรุ๊ป AB รับได้จากทุกกรุ๊ป(II,Ii,iI,ii) แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB (No..! Incorrect เพราะ AB=Ii,iI เป็นกรุ๊ปพิเศษ แต่แต่งงานกับเลือดกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป)
  4. คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A(II),O(ii) ให้ได้กับ A,AB (No...incorrect! รับได้เฉพาะ A เท่านั้น แต่แต่งงานกับเลือดกรุ๊ป A,B,AB,Oได้ 1 man 1 wife)
  5. คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B(Ii),O(ii) ให้ได้กับ B,AB (No...incorrect! รับได้เฉพาะ B เท่านั้น แต่แต่งงานกับเลือดกรุ๊ป A,B,AB,Oได้ 1 man 1 wife)

และคนที่ได้รับเลือดจากกรุ๊ปอื่น จะสามารถรับได้เพียงครั้งเดียวในชีวิต เพราะถ้าเกิดมีครั้งที่สอง จะทำให้เลือดตกตะกอนและจับตัวเป็นก้อน และจะมีการเสียชีวิตเกิดขึ้นหรือจะเป็นเอดส์แทนก็เป็นไปได้ (No...Silly!... Do you eat food one time per meal in one day? hahahaha)

บทสรุปหมู่โลหิต

  1. คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่สามารถเลือกแต่งงานได้กับคนหมู่เลือด A,B,AB,O ทั้งหมดได้เพียง 1 คน เพราะต้องระวัง HIV ที่ทำให้ไม่สามารถให้เลือดได้
  2. คนเลือดกรุ๊ป AB รับได้เฉพาะ A,B,AB เพราะเป็นคนหมู่เลือดพิเศษ แต่สามารถเลือกแต่งงานได้กับคนหมู่เลือด A,B,AB,O ทั้งหมดได้เพียง 1 คน เพราะต้องระวัง HIV
  3. คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A เท่านั้น แต่สามารถเลือกแต่งงานได้กับคนหมู่เลือด A,B,AB,O ทั้งหมดได้เพียง 1 คน เพราะต้องระวัง HIV ที่ทำให้ไม่สามารถให้เลือดได้
  4. คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B เท่านั้น แต่สามารถเลือกแต่งงานได้กับคนหมู่เลือด A,B,AB,O ทั้งหมดได้เพียง 1 คน เพราะต้องระวัง HIV ที่ทำให้ไม่สามารถให้เลือดได้

(ไอ้หมอบ้าคลั่งน้ำกามอิจฉา+ริษยาคนอื่น ฆ่าผู้ป่วยในโรงพยาบาลยังมีน่ามาอ้างเป็นคนพุทธอีก)

อาหารที่เหมาะสมกับเลือดในหมู่เลือด

  1. คนกรุ๊ปเลือด O เหมาะกับผัก ผลไม้ นม เนื้อสัตว์
  2. คนกรุ๊ปเลือด B เหมาะกับผัก ผลไม้ นม เหมาะกับเนื้อสัตว์
  3. คนกรุ๊ปเลือด A เหมาะกับผัก ผลไม้ นม เหมาะกับเนื้อสัตว์
  4. คนกรุ๊ปเลือด AB เหมาะกับผัก นม ผลไม้ ไม่เหมาะกับเนื้อสัตว์ กินเนื้อปลาได้ควรกินพวกวิตามิน

แหล่งข้อมูลอื่น