ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 3 ประโยค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Patiwat~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนทางไปที่ ประโยค
 
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เปรียญธรรม 3 ประโยค''' ''(ชื่อย่อ ป.ธ.๓)'' เป็นหลักสูตรของการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียก[[พระภิกษุ]]ผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ว่า '''"[[พระมหา]]"''' และ[[สามเณร]]ว่า '''"[[สามเณรเปรียญ]]"'''
#REDIRECT[[ประโยค]]

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีในชั้น '''"เปรียญธรรม 3 ประโยค"''' นั้น แบ่ง
รายวิชาที่[[สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง]]กำหนดให้พระภิกษุสามเณรสอบไล่เพื่อผ่านในชั้นนี้ได้เป็น ๔ วิชา คือ วิชาแปล[[ภาษาบาลี|มคธ]]เป็นไทย, วิชาสัมพันธ์ไทย, วิชาไวยากรณ์, และวิชาบุรพภาค

[[พระภิกษุ]][[สามเณร]]ผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้จะได้รับประกาศนียบัตร [[พัดยศ]]เปรียญธรรม ทรงตั้งเป็น "เปรียญ" เมื่อผ่านการทรงตั้งแล้วถ้าเป็นพระภิกษุจะมีสิทธิ์ใ้ช้คำนำหน้าชื่อว่า '''"[[พระมหา]]"''' ถ้าเป็น[[สามเณร]] สามารถใช้คำต่อท้าย[[นามสกุล]]ว่า '''[[เปรียญ]].'''

== หลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมบาลีในชั้นเปรียญธรรม 3 ประโยค ==

ในชั้นนี้ แม่กองบาลีสนามหลวง กำหนดวิชาในการศึกษาไว้ 4 วิชา คือ

=== วิชาบาลีไวยากรณ์ ===
ใช้หนังสือบาลีไวยากรณ์ ๔ เล่ม ในชั้นประโยค ๑ - ๒

'''การสอบประเภทสอบถามความจำและความเข้าใจประกอบกัน 7 ข้อ'''

=== วิชาแปลมคธเป็นไทย ===

'''วิชาแปลมคธเป็นไทย''' คือ วิชาแปล[[ภาษาบาลี]]เป็น[[ภาษาไทย]] โดยในชั้นนี้กำหนดเป็น '''แปลโดยพยัญชนะและอรรถ''' ให้ฝึกการแปลภาษาบาลีจากหนังสือ '''อรรถกถาธรรมบท''' (ธมฺมปทฏฐกถา)

====การศึกษาวิชาแปลมคธเป็นไทย ====

ใช้หนังสืออรรถกถาธรรมบท ๔ เล่ม คือ

*ธมฺมปทฏฺฐกถา (ปญฺจโม ภาโค - ภาคห้า)
*ธมฺมปทฏฺฐกถา (ฉฏฺโฐ ภาโค - ภาคหก)
*ธมฺมปทฏฺฐกถา (สตฺต ภาโค - ภาคเจ็ด)
*ธมฺมปทฏฺฐกถา (อฏฺฐ ภาโค - ภาคแปด)

==== การสอบไล่วิชาแปลมคธเป็นไทย ====

แบ่งข้อสอบในวิชานี้ออกเป็น 2 ชั้นคือ

*'''แปลโดย[[ความหมายโดยพยัญชนะ|พยัญชนะ]]'''

*'''แปลโดยอรรถะ'''

การตรวจข้อสอบ กำหนดจากเกณฑ์การทำข้อสอบผิด หากผิดมากกว่า 18 คะแนนขึ้นไป ถือว่าตกในวิชานี้

*'''ผิดศัพท์''' แปลผิดคำศัพท์ ปรับผิด 2 คะแนน
*'''ผิดสัมพันธ์''' ปรับผิด 3 คะแนน
*'''ผิดประโยค''' แปลเรียงรูปประโยคผิด ประธานและกรรมไม่สอดคล้องกัน ปรับผิด 6 คะแนน (หากผิด 2 ประโยค ถือว่าตก)

=== วิชาสัมพันธ์ไทย ===

{{โครง-ส่วน}}

====การศึกษาวิชาสัมพันธ์ไทย ====

ใช้หนังสือธัมมปทัฏฐกถา ๔ เล่ม

==== การสอบไล่วิชาสัมพันธ์ไทย ====

วิชาสัมพันธ์ไทยมีข้อสอบข้อเดียว ให้ผู้สอบเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของแต่ละศัพท์ในประโยค

การตรวจข้อสอบ ใช้เกณฑ์เดียวกับการสอบวิชาแปลมคธเป็นไทย

=== วิชาบุรพภาค ===

ไม่มีหนังสือใช้เป็นหลักสูตรที่แน่นอน ส่วนมากจะเป็นข้อเขียน[[ภาษาไทย]] ให้เรียงรูปแบบการเขียนจดหมายราชการ หรือประกาศ และให้สะกดศัพท์ภาษาไทยให้ถูกต้อง


== หลักเกณฑ์ของผู้มีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นเปรียญธรรม 3 ประโยค ==

พระภิกษุสามเณรที่มีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นเปรียญธรรม 3 ประโยคนี้ ต้องสอบไล่ได้ ประโยค 1-2 และต้องสอบไล่ได้ นักธรรมตรี ก่อนจึงจะมีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นนี้ได้

{{แม่แบบ:หลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:04, 4 พฤษภาคม 2550

เปรียญธรรม 3 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.๓) เป็นหลักสูตรของการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกพระภิกษุผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ว่า "พระมหา" และสามเณรว่า "สามเณรเปรียญ"

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีในชั้น "เปรียญธรรม 3 ประโยค" นั้น แบ่ง รายวิชาที่สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงกำหนดให้พระภิกษุสามเณรสอบไล่เพื่อผ่านในชั้นนี้ได้เป็น ๔ วิชา คือ วิชาแปลมคธเป็นไทย, วิชาสัมพันธ์ไทย, วิชาไวยากรณ์, และวิชาบุรพภาค

พระภิกษุสามเณรผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้จะได้รับประกาศนียบัตร พัดยศเปรียญธรรม ทรงตั้งเป็น "เปรียญ" เมื่อผ่านการทรงตั้งแล้วถ้าเป็นพระภิกษุจะมีสิทธิ์ใ้ช้คำนำหน้าชื่อว่า "พระมหา" ถ้าเป็นสามเณร สามารถใช้คำต่อท้ายนามสกุลว่า เปรียญ.

หลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมบาลีในชั้นเปรียญธรรม 3 ประโยค

ในชั้นนี้ แม่กองบาลีสนามหลวง กำหนดวิชาในการศึกษาไว้ 4 วิชา คือ

วิชาบาลีไวยากรณ์

ใช้หนังสือบาลีไวยากรณ์ ๔ เล่ม ในชั้นประโยค ๑ - ๒

การสอบประเภทสอบถามความจำและความเข้าใจประกอบกัน 7 ข้อ

วิชาแปลมคธเป็นไทย

วิชาแปลมคธเป็นไทย คือ วิชาแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทย โดยในชั้นนี้กำหนดเป็น แปลโดยพยัญชนะและอรรถ ให้ฝึกการแปลภาษาบาลีจากหนังสือ อรรถกถาธรรมบท (ธมฺมปทฏฐกถา)

การศึกษาวิชาแปลมคธเป็นไทย

ใช้หนังสืออรรถกถาธรรมบท ๔ เล่ม คือ

  • ธมฺมปทฏฺฐกถา (ปญฺจโม ภาโค - ภาคห้า)
  • ธมฺมปทฏฺฐกถา (ฉฏฺโฐ ภาโค - ภาคหก)
  • ธมฺมปทฏฺฐกถา (สตฺต ภาโค - ภาคเจ็ด)
  • ธมฺมปทฏฺฐกถา (อฏฺฐ ภาโค - ภาคแปด)

การสอบไล่วิชาแปลมคธเป็นไทย

แบ่งข้อสอบในวิชานี้ออกเป็น 2 ชั้นคือ

  • แปลโดยอรรถะ

การตรวจข้อสอบ กำหนดจากเกณฑ์การทำข้อสอบผิด หากผิดมากกว่า 18 คะแนนขึ้นไป ถือว่าตกในวิชานี้

  • ผิดศัพท์ แปลผิดคำศัพท์ ปรับผิด 2 คะแนน
  • ผิดสัมพันธ์ ปรับผิด 3 คะแนน
  • ผิดประโยค แปลเรียงรูปประโยคผิด ประธานและกรรมไม่สอดคล้องกัน ปรับผิด 6 คะแนน (หากผิด 2 ประโยค ถือว่าตก)

วิชาสัมพันธ์ไทย

การศึกษาวิชาสัมพันธ์ไทย

ใช้หนังสือธัมมปทัฏฐกถา ๔ เล่ม

การสอบไล่วิชาสัมพันธ์ไทย

วิชาสัมพันธ์ไทยมีข้อสอบข้อเดียว ให้ผู้สอบเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของแต่ละศัพท์ในประโยค

การตรวจข้อสอบ ใช้เกณฑ์เดียวกับการสอบวิชาแปลมคธเป็นไทย

วิชาบุรพภาค

ไม่มีหนังสือใช้เป็นหลักสูตรที่แน่นอน ส่วนมากจะเป็นข้อเขียนภาษาไทย ให้เรียงรูปแบบการเขียนจดหมายราชการ หรือประกาศ และให้สะกดศัพท์ภาษาไทยให้ถูกต้อง


หลักเกณฑ์ของผู้มีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นเปรียญธรรม 3 ประโยค

พระภิกษุสามเณรที่มีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นเปรียญธรรม 3 ประโยคนี้ ต้องสอบไล่ได้ ประโยค 1-2 และต้องสอบไล่ได้ นักธรรมตรี ก่อนจึงจะมีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นนี้ได้

หลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี
สนามหลวงแผนกบาลี เปรียญธรรม
เปรียญตรี
เปรียญโท
เปรียญเอก