ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปูทูลกระหม่อม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tkit9s2o (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| regnum = [[Animalia]]
| regnum = [[Animalia]]
| phylum = [[Arthropoda]]
| phylum = [[Arthropoda]]
| classis = [[Actinopterygii]]
| classis = [[Malacostraca]]
| ordo = [[Decapoda]]
| ordo = [[Decapoda]]
| familia = [[Potamidae]]
| familia = [[Potamidae]]
| genus = ''[[Phricotelphusa]]''
| genus = ''[[Thaipotamon]]''
| species = '''''T. chulabhorn'''''
| species = '''''T. chulabhorn'''''
| binomial = ''Thaipotamon chulabhorn''
| binomial = ''Thaipotamon chulabhorn''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:32, 4 กุมภาพันธ์ 2557

ปูทูลกระหม่อม
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ชั้น: Malacostraca
อันดับ: Decapoda
วงศ์: Potamidae
สกุล: Thaipotamon
สปีชีส์: T.  chulabhorn
ชื่อทวินาม
Thaipotamon chulabhorn
Naiyanetr, 1993

ปูทูลกระหม่อม หรือ ปูแป้ง (อังกฤษ: Mealy crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Thaipotamon chulabhorn) เป็นปูน้ำจืดที่ค้นพบในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2536 ที่ป่าดูนลำพัน อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม[2] โดยศาสตราจารย์ไพบูลย์ นัยเนตร ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ทางธรรมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์ และเป็นปีที่ปีที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 36 พรรษา จึงขอพระราชทานชื่อว่า "ปูทูลกระหม่อม" และได้กำหนดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ลำดับที่ 14 ของสัตว์ป่าจำพวกไม่มีกระดูกสันหลังในกฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2543)

ลักษณะ

รูปร่างคล้ายปูนามีสีสันสวยงาม มี4 สีคือ ม่วง แสด เหลือง ขาว โดยกระดองมีสีม่วงเปลือกมังคุด ผสมพันธุ์นาน 4-5 ชั่วโมง ไข่จะฟองใหญ่กว่าปูนา กว่า 3 - 4 เท่า

พบที่ บริเวณ น้ำตกบนเขาหินลุ ต.วังใหม่ อ.เมือง จ.ชุมพร เมื่อ 23/09/56 โดย นายจรูญศักดิ์ ปรีชาชน พิกัดที่พบ Latitude 10.48190 Longitude 98.89440 ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 575 เมตร

อ้างอิง