ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมราชวงศ์เทวาธิราช ป. มาลากุล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เรซูเม}}
{{เรซูเม}}
'''มหาเสวกตรี พระยาเทวาธิราช''' นามเดิม หม่อมราชวงศ์โป้ย ( ภายหลังใช้นามว่า ม.ร.ว.เทวาธิราช ป.มาลากุล จนอนิจกรรม ) เกิดในราชสกุล มาลากุล เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2432 ณ วังซึ่งเป็นที่ทำการ[[กรมศิลปากร]] ในบัดนี้ เป็นโอรสของ พลเรือโท [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงศ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์]] และ หม่อมสุ่น มีพี่น้องร่วมพระบิดา ดังรายนามต่อไปนี้
'''มหาเสวกตรี พระยาเทวาธิราช''' นามเดิม หม่อมราชวงศ์โป้ย ( ภายหลังใช้นามว่า ม.ร.ว.เทวาธิราช ป.มาลากุล จนอนิจกรรม ) เกิดในราชสกุล มาลากุล เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2432 ณ วังซึ่งเป็นที่ทำการ[[กรมศิลปากร]]ในบัดนี้ เป็นโอรสของ พลเรือโท [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงศ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์]] และ หม่อมสุ่น มีพี่น้องร่วมพระบิดา ดังรายนามต่อไปนี้
*[[เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี]] ( ม.ร.ว.เปีย มาลากุล )
*มหาอำมาตย์เอก [[เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี]] ( ม.ร.ว.เปีย มาลากุล )
*เจ้าจอม ม.ร.ว.แป้น มาลากุล
*เจ้าจอม ม.ร.ว.แป้น มาลากุล
*[[ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม มาลากุล)]]
*[[ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม มาลากุล)]]
*[[ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม มาลากุล)]]
*[[ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม มาลากุล)]]
*[[เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี]] ( ม.ร.ว.ปุ้ม มาลากุล )
*มหาเสวกเอก [[เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี]] ( ม.ร.ว.ปุ้ม มาลากุล )
*เจ้าจอม ม.ร.ว.แป้ว มาลากุล
*เจ้าจอม ม.ร.ว.แป้ว มาลากุล
*[[ท้าวสมศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์ปุย มาลากุล)]]
*[[ท้าวสมศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์ปุย มาลากุล)]]
*พระยาเทวาธิราช
*มหาเสวกตรี พระยาเทวาธิราช
*พระยาชาติเดชอุดม ( ม.ร.ว.โป๊ะ มาลากุล )
*พระยาชาติเดชอุดม ( ม.ร.ว.โป๊ะ มาลากุล )
*ม.ร.ว.เปี๊ยะ มาลากุล
*ม.ร.ว.เปี๊ยะ มาลากุล
*ม.ร.ว.ปึก มาลากุล
*ม.ร.ว.ปึก มาลากุล


ในวัยเยาว์ พระบิดาได้ถวายตัวพร้อมกับพี่น้องทั้งหมด ให้อยู่ในพระอุปถัมภ์ [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ]] ในพระบรมมหาราชวัง ได้ทรงพระกรุณาฯ ส่งไปศึกษาในขั้นแรก ที่[[โรงเรียนราชวิทยาลัย]] และต่อมา ที่ Higher Technological School ณ [[ประเทศญี่ปุ่น]] โดยส่งไปพร้อมกับบุคคล ดังมีรายพระนาม และ รายนามต่อไปนี้
ในวัยเยาว์ พระบิดาได้ถวายตัวพร้อมกับพี่น้องทั้งหมดให้อยู่ในพระอุปถัมภ์ [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ]] ในพระบรมมหาราชวัง ได้ทรงพระกรุณาฯส่งไปศึกษาในขั้นแรกที่[[โรงเรียนราชวิทยาลัย]] และต่อมาที่ Higher Technological School ณ [[ประเทศญี่ปุ่น]] โดยส่งไปพร้อมกับบุคคลดังมีรายพระนามและรายนามต่อไปนี้
*ม.จ.พงษ์ภูวนารถ ทวีวงศ์ ในกรมหมื่นภูธเรศธำรงศํกดิ์
*ม.จ.พงษ์ภูวนารถ ทวีวงศ์ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศํกดิ์
*ม.ร.ว.โป้ย มาลากุล
*ม.ร.ว.โป้ย มาลากุล
*นายเจริญ สวัสดิ-ชูโต ( ภายหลังเป็น พระยานรเทพปรีดา )
*นายเจริญ สวัสดิ-ชูโต ( ภายหลังเป็น มหาเสวกตรี พระยานรเทพปรีดา )
*นายเสริม ภูมิรัตน ( ภายหลังเป็น หลวงประกาศโกศัยวิทย์ )
*นายเสริม ภูมิรัตน ( ภายหลังเป็น หลวงประกาศโกศัยวิทย์ )
*นางสาวขจร ( ท่านผู้หญิงขจร ภะรตราชา )
*นางสาวขจร ( ท่านผู้หญิงขจร ภะรตราชา )
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
*นางสาวนวล
*นางสาวนวล
*นางสาวหลี ( คุณศรีนาฏ บูรณะฤกษ์ )
*นางสาวหลี ( คุณศรีนาฏ บูรณะฤกษ์ )
ทั้งหมดนี้นับเป็นนักเรียนญี่ปุ่น รุ่นแรก ของประเทศไทย
ทั้งหมดนี้นับเป็นนักเรียนญี่ปุ่นรุ่นแรกของประเทศไทย


เมื่อเรียนสำเร็จแล้ว เดินทางกลับมาประเทศไทยในปลายรัชกาลที่ 5 เริ่มฝึกราชการในกรมพระราชพิธี [[กระทรวงวัง]] จนถึง พ.ศ. 2453 ในรัชกาลที่ 6 จึงได้รับราชการ ทรงพระกรุณาฯพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น จมื่นศิริวังรัตน์ ตำแหน่งกรมวังในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ และรับราชการเรื่อยมามีความเจริญโดยลำดับ จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ "พระยาเทวาธิราช" ในที่สุด และมียศพลเรือนสูงสุด คือ "มหาเสวกตรี"
เมื่อเรียนสำเร็จแล้ว เดินทางกลับมาประเทศไทยในปลายรัชกาลที่ 5 เริ่มฝึกราชการในกรมพระราชพิธี [[กระทรวงวัง]] จนถึง พ.ศ. 2453 ในรัชกาลที่ 6 จึงได้รับราชการ ทรงพระกรุณาฯพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น จมื่นศิริวังรัตน์ ตำแหน่งกรมวังในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ และรับราชการเรื่อยมามีความเจริญโดยลำดับจนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ "พระยาเทวาธิราช" ในที่สุด และมียศพลเรือนสูงสุด คือ "มหาเสวกตรี"


ได้รับราชการโดยลำดับ ดังนี้
ได้รับราชการโดยลำดับ ดังนี้
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
*พ.ศ. 2471 เป็นสมุหพระราชพิธี
*พ.ศ. 2471 เป็นสมุหพระราชพิธี
*พ.ศ. 2476 เป็นสมุหพระราชพิธี และทำการในตำแหน่งเจ้ากรม กองพระราชพิธี
*พ.ศ. 2476 เป็นสมุหพระราชพิธี และทำการในตำแหน่งเจ้ากรม กองพระราชพิธี
*พ.ศ. 2478 เป็นหัวหน้ากองวัง และ พระราชพิธี สำนักพระราชวัง
*พ.ศ. 2478 เป็นหัวหน้ากองวังและพระราชพิธี สำนักพระราชวัง
*พ.ศ. 2479 เป็นสมุหพระราชพิธี กรรมการพระราชวัง เพื่อปรึกษากิจการพระราชสำนัก
*พ.ศ. 2479 เป็นสมุหพระราชพิธี กรรมการพระราชวัง เพื่อปรึกษากิจการพระราชสำนัก
*พ.ศ. 2486 เป็นข้าราชการพลเรื่อนในพระองค์ชั้นพิเศษ
*พ.ศ. 2486 เป็นข้าราชการพลเรื่อนในพระองค์ชั้นพิเศษ
*พ.ศ. 2492 เป็นสมุหพระราชพิธี และที่ปรึกษาสำนักพระราชวัง
*พ.ศ. 2492 เป็นสมุหพระราชพิธี และที่ปรึกษาสำนักพระราชวัง


ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า เกือบครึ่งชีวิตในเวลาราชการ ของพระยาเทวาธิราช ท่านได้ครองตำแหน่งสมุหพระราชพิธี ยาวนานถึง 3 แผ่นดิน ตราบจนเกษียณอายุ ออกรับพระราชทานบำนาญ เมื่อ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2501 รวมอายุเวลาราชการ 47 ปี 6 เดือน เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสามารถและรอบรู้ในเรื่องพิธีการในพระราชสำนัก อันจะหาผู้เสมอได้ยาก ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ , ปถมาภรณ์ช้างเผือก , ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ , และเหรียญรัตนาภรณ์ ในรัชกาลที่ 6-7-8-9 เป็นเกียรติยศ
ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า เกือบครึ่งชีวิตในเวลาราชการของพระยาเทวาธิราช ท่านได้ครองตำแหน่งสมุหพระราชพิธียาวนานถึง 3 แผ่นดิน ตราบจนเกษียณอายุออกรับพระราชทานบำนาญ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2501 รวมอายุเวลาราชการ 47 ปี 6 เดือน เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสามารถและรอบรู้ในเรื่องพิธีการในพระราชสำนักอันจะหาผู้เสมอได้ยาก ความรู้ในเรื่องระเบียบพระราชพิธีของท่านได้ถ่ายทอดให้บุคคลจำนวนมาก ทั้งบุตรและข้าราชการรุ่นหลัง เช่น นายเศวต ธนประดิษฐ์, นายเกรียงไกร วิศวามิตร เป็นต้น ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ , ประถมาภรณ์ช้างเผือก , ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ และเหรียญรัตนาภรณ์ ในรัชกาลที่ 6-7-8-9 เป็นเกียรติยศ


และมีราชการพิเศษ ดังนี้
และมีราชการพิเศษ ดังนี้
*พ.ศ. 2478 เป็นประธานกรรมการปรึกษากิจการระหว่างพระราชสำนัก และ กรมศิลปากร
*พ.ศ. 2478 เป็นประธานกรรมการปรึกษากิจการระหว่างพระราชสำนักและกรมศิลปากร
*พ.ศ. 2478 เป็นกรรมการสอบแข่งขันส่งนักเรียนไปต่างประเทศ
*พ.ศ. 2478 เป็นกรรมการสอบแข่งขันส่งนักเรียนไปต่างประเทศ
*พ.ศ. 2478 เป็นกรรมการพิจารณาทรัพย์สิน สำนักพระราชวัง และ กรรมการพิจารณาหลักสูตรประถมและมัธยมศึกษา
*พ.ศ. 2478 เป็นกรรมการพิจารณาทรัพย์สิน สำนักพระราชวัง และกรรมการพิจารณาหลักสูตรประถมและมัธยมศึกษา
*พ.ศ. 2485 เป็นกรรมการชำระปทานุกรม
*พ.ศ. 2485 เป็นกรรมการชำระปทานุกรม
*พ.ศ. 2486 เป็นกรรมการที่ปรึกษาวัฒนธรรม เรื่อง ชีวิตในบ้าน
*พ.ศ. 2486 เป็นกรรมการที่ปรึกษาวัฒนธรรม เรื่องชีวิตในบ้าน
*พ.ศ. 2490 เป็นกรรมการสภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ
*พ.ศ. 2490 เป็นกรรมการสภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ
*พ.ศ. 2491 เป็นกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
*พ.ศ. 2491 เป็นกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
*พ.ศ. 2495 เป็นประธานกรรมการดำเนินงานพระเมรุ พระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรทร
*พ.ศ. 2495 เป็นประธานกรรมการดำเนินงานพระเมรุ พระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาชัยนาทนเรทร
*พ.ศ. 2496 เป็นประธานกรรมการพิจารณาจัดวางแผนผังดัดแปลง และ ซ่อมทำพระราชฐาน
*พ.ศ. 2496 เป็นประธานกรรมการพิจารณาจัดวางแผนผังดัดแปลงและซ่อมทำพระราชฐาน


ในราชการพิเศษที่ได้กล่าวมานี้ ที่สำคัญที่สุด คือ ในปี พ.ศ. 2493 ได้เป็นผู้อำนวยการ งานพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ,พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และ งานพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภฺมพลอดุลยเดช โดยเป็นผู้ทูลเกล้าฯ ถวายพระเต้าเบญจคัพย รัชกาลที่ 1 สำหรับทรงรับน้ำอภิเษก ( น้ำที่ได้พลีกรรมประกอบการพิธีแล้ว ) ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนั้นด้วย
ในราชการพิเศษที่ได้กล่าวมานี้ ที่สำคัญที่สุดคือ ในปี พ.ศ. 2493 ได้เป็นผู้อำนวยการ งานพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ,พระราชพิธีบรมราชาภิเษกและงานพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โดยเป็นผู้ทูลเกล้าฯ ถวายพระเต้าเบญจคัพย รัชกาลที่ 1 สำหรับทรงรับน้ำอภิเษก ( น้ำที่ได้พลีกรรมประกอบการพิธีแล้ว ) ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนั้นด้วย


นอกจากหน้าที่ในพระราชสำนักแล้ว ยามว่าง พระยาเทวาธิราช จะเพลิดเพลินอยู่กับการสะสมวัตถุโบราณ และ หาความรู้ในหนังสือ จากห้องสมุด ภายในบ้านของท่าน ซึ่งได้รับพระราชทานจาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่ถนนประแจจีน ( บ้านเลขที่ 408 สี่แยกราชเทวี ถนนเพชรบุรี ในปัจจุบัน )และเขียนบทความสารคดีต่างๆ เกี่ยวกับประเพณีทั้งใน-นอกวัง อาทิ
นอกจากหน้าที่ในพระราชสำนักแล้ว ยามว่าง พระยาเทวาธิราช จะเพลิดเพลินอยู่กับการสะสมวัตถุโบราณและหาความรู้ในหนังสือจากห้องสมุดภายในบ้านของท่าน ซึ่งได้รับพระราชทานจาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่ถนนประแจจีน ( บ้านเลขที่ 408 สี่แยกราชเทวี ถนนเพชรบุรี ปัจจุบันรื้อถอนแล้ว)และเขียนบทความสารคดีต่างๆ เกี่ยวกับประเพณีทั้งใน-นอกวัง อาทิ
*พระราชประวัติสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง
*พระราชประวัติสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง
*ราชาภิสดุดี
*ราชาภิสดุดี
บรรทัด 66: บรรทัด 66:
*บทสนทนา เรื่อง "เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์" ฯลฯ
*บทสนทนา เรื่อง "เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์" ฯลฯ


ที่สำคัญที่สุด คือได้รับพระเมตตา จาก[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] ให้เขียน[[จดหมาย]]ทูลถามความรู้เกี่ยวกับราชประเพณีโบราณ โต้ตอบกับพระองค์ท่าน ทำนองเป็นจดหมายเวร ติดต่อเป็นเวลาหลายปี ซึ่งมีบุคคลเพียงไม่กี่ท่าน ที่จะได้รับพระเมตตาเช่นนี้ นอกจากการแสวงหาความรู้จากหนังสือแล้ว พระยาเทวาธิราช ยังมีความสามารถในการถ่ายภาพนิ่ง และ ภาพยนตร์ ภายในตึกของท่านจะมีห้องสำหรับล้าง[[ฟิล์ม]] และห้องฉายภาพยนตร์ด้วย เรื่องที่ท่านกำกับ มีอาทิ เจ้าหญิงกุณฑลทิพย์ ฯลฯ
ที่สำคัญที่สุด คือได้รับพระเมตตาจาก[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] ให้เขียน[[จดหมาย]]ทูลถามความรู้เกี่ยวกับราชประเพณีโบราณ โต้ตอบกับพระองค์ท่าน ทำนองเป็นจดหมายเวรติดต่อเป็นเวลาหลายปี ซึ่งมีบุคคลเพียงไม่กี่ท่านที่จะได้รับพระเมตตาเช่นนี้
นอกจากการแสวงหาความรู้จากหนังสือแล้ว พระยาเทวาธิราช ยังมีความสามารถในการถ่ายภาพนิ่งและภาพยนตร์ จนถึงได้เป็นสมาชิกของสมาคมภาพยนตร์สมัครเล่นแห่งสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในบ้านของท่านจะมีห้องสำหรับล้าง[[ฟิล์ม]]โดยเฉพาะ 1 ห้อง รวมถึงห้องฉายภาพยนตร์ด้วย สำหรับภาพยนตร์ที่ท่านสร้างและกำกับมี 2 เรื่องคือ เจ้าหญิงกุณฑลทิพย์และถลางพ่าย


ด้านชีวิตครอบครัว ได้สมรสครั้งแรกกับคุณหญิงเนื่อง มาลากุล มีบุตร 1 คนคือ
ด้านชีวิตครอบครัว ได้สมรสครั้งแรกกับคุณหญิงเนื่อง มาลากุล มีบุตร 1 คนคือ
บรรทัด 82: บรรทัด 84:
*ม.ล.โปรพ มาลากุล
*ม.ล.โปรพ มาลากุล


บั้นปลายชีวิต พระยาเทวาธิราช หรือ ม.ร.ว.เทวาธิราช ป.มาลากุล ป่วยเป็น[[โรคมะเร็ง]] ได้ทำการรักษาเรื่อยมา อาการมีแต่ทรงและทรุด จนในที่สุด ก็ถึงอนิจกรรม ณ [[โรงพยาบาลศิริราช]] เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 สิริรวมอายุได้ 78 ปี
บั้นปลายชีวิต ม.ร.ว.เทวาธิราช ป.มาลากุล ป่วยเป็น[[โรคมะเร็ง]] และถึงอนิจกรรม ณ [[โรงพยาบาลศิริราช]] เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 สิริรวมอายุได้ 78 ปี


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:09, 8 มกราคม 2557

มหาเสวกตรี พระยาเทวาธิราช นามเดิม หม่อมราชวงศ์โป้ย ( ภายหลังใช้นามว่า ม.ร.ว.เทวาธิราช ป.มาลากุล จนอนิจกรรม ) เกิดในราชสกุล มาลากุล เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2432 ณ วังซึ่งเป็นที่ทำการกรมศิลปากรในบัดนี้ เป็นโอรสของ พลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงศ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ และ หม่อมสุ่น มีพี่น้องร่วมพระบิดา ดังรายนามต่อไปนี้

ในวัยเยาว์ พระบิดาได้ถวายตัวพร้อมกับพี่น้องทั้งหมดให้อยู่ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ในพระบรมมหาราชวัง ได้ทรงพระกรุณาฯส่งไปศึกษาในขั้นแรกที่โรงเรียนราชวิทยาลัย และต่อมาที่ Higher Technological School ณ ประเทศญี่ปุ่น โดยส่งไปพร้อมกับบุคคลดังมีรายพระนามและรายนามต่อไปนี้

  • ม.จ.พงษ์ภูวนารถ ทวีวงศ์ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศํกดิ์
  • ม.ร.ว.โป้ย มาลากุล
  • นายเจริญ สวัสดิ-ชูโต ( ภายหลังเป็น มหาเสวกตรี พระยานรเทพปรีดา )
  • นายเสริม ภูมิรัตน ( ภายหลังเป็น หลวงประกาศโกศัยวิทย์ )
  • นางสาวขจร ( ท่านผู้หญิงขจร ภะรตราชา )
  • นางสาวพิศ ( นางประกาศโกศัยวิทย์ พิศ ภูมิรัตน )
  • นางสาวนวล
  • นางสาวหลี ( คุณศรีนาฏ บูรณะฤกษ์ )

ทั้งหมดนี้นับเป็นนักเรียนญี่ปุ่นรุ่นแรกของประเทศไทย

เมื่อเรียนสำเร็จแล้ว เดินทางกลับมาประเทศไทยในปลายรัชกาลที่ 5 เริ่มฝึกราชการในกรมพระราชพิธี กระทรวงวัง จนถึง พ.ศ. 2453 ในรัชกาลที่ 6 จึงได้รับราชการ ทรงพระกรุณาฯพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น จมื่นศิริวังรัตน์ ตำแหน่งกรมวังในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ และรับราชการเรื่อยมามีความเจริญโดยลำดับจนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ "พระยาเทวาธิราช" ในที่สุด และมียศพลเรือนสูงสุด คือ "มหาเสวกตรี"

ได้รับราชการโดยลำดับ ดังนี้

  • พ.ศ. 2453 เป็นเจ้ากรมพระตำรวจ ในราชสำนักสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ
  • พ.ศ. 2463 เป็นผู้ช่วยสมุหพระราชพิธี ในกระทรวงวัง
  • พ.ศ. 2470 เป็นผู้ช่วยสมุหพระราชพิธี และ เจ้ากรมกรมวัง ในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี
  • พ.ศ. 2471 เป็นสมุหพระราชพิธี
  • พ.ศ. 2476 เป็นสมุหพระราชพิธี และทำการในตำแหน่งเจ้ากรม กองพระราชพิธี
  • พ.ศ. 2478 เป็นหัวหน้ากองวังและพระราชพิธี สำนักพระราชวัง
  • พ.ศ. 2479 เป็นสมุหพระราชพิธี กรรมการพระราชวัง เพื่อปรึกษากิจการพระราชสำนัก
  • พ.ศ. 2486 เป็นข้าราชการพลเรื่อนในพระองค์ชั้นพิเศษ
  • พ.ศ. 2492 เป็นสมุหพระราชพิธี และที่ปรึกษาสำนักพระราชวัง

ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า เกือบครึ่งชีวิตในเวลาราชการของพระยาเทวาธิราช ท่านได้ครองตำแหน่งสมุหพระราชพิธียาวนานถึง 3 แผ่นดิน ตราบจนเกษียณอายุออกรับพระราชทานบำนาญ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2501 รวมอายุเวลาราชการ 47 ปี 6 เดือน เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสามารถและรอบรู้ในเรื่องพิธีการในพระราชสำนักอันจะหาผู้เสมอได้ยาก ความรู้ในเรื่องระเบียบพระราชพิธีของท่านได้ถ่ายทอดให้บุคคลจำนวนมาก ทั้งบุตรและข้าราชการรุ่นหลัง เช่น นายเศวต ธนประดิษฐ์, นายเกรียงไกร วิศวามิตร เป็นต้น ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ , ประถมาภรณ์ช้างเผือก , ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ และเหรียญรัตนาภรณ์ ในรัชกาลที่ 6-7-8-9 เป็นเกียรติยศ

และมีราชการพิเศษ ดังนี้

  • พ.ศ. 2478 เป็นประธานกรรมการปรึกษากิจการระหว่างพระราชสำนักและกรมศิลปากร
  • พ.ศ. 2478 เป็นกรรมการสอบแข่งขันส่งนักเรียนไปต่างประเทศ
  • พ.ศ. 2478 เป็นกรรมการพิจารณาทรัพย์สิน สำนักพระราชวัง และกรรมการพิจารณาหลักสูตรประถมและมัธยมศึกษา
  • พ.ศ. 2485 เป็นกรรมการชำระปทานุกรม
  • พ.ศ. 2486 เป็นกรรมการที่ปรึกษาวัฒนธรรม เรื่องชีวิตในบ้าน
  • พ.ศ. 2490 เป็นกรรมการสภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ
  • พ.ศ. 2491 เป็นกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
  • พ.ศ. 2495 เป็นประธานกรรมการดำเนินงานพระเมรุ พระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาชัยนาทนเรทร
  • พ.ศ. 2496 เป็นประธานกรรมการพิจารณาจัดวางแผนผังดัดแปลงและซ่อมทำพระราชฐาน

ในราชการพิเศษที่ได้กล่าวมานี้ ที่สำคัญที่สุดคือ ในปี พ.ศ. 2493 ได้เป็นผู้อำนวยการ งานพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ,พระราชพิธีบรมราชาภิเษกและงานพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โดยเป็นผู้ทูลเกล้าฯ ถวายพระเต้าเบญจคัพย รัชกาลที่ 1 สำหรับทรงรับน้ำอภิเษก ( น้ำที่ได้พลีกรรมประกอบการพิธีแล้ว ) ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนั้นด้วย

นอกจากหน้าที่ในพระราชสำนักแล้ว ยามว่าง พระยาเทวาธิราช จะเพลิดเพลินอยู่กับการสะสมวัตถุโบราณและหาความรู้ในหนังสือจากห้องสมุดภายในบ้านของท่าน ซึ่งได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ถนนประแจจีน ( บ้านเลขที่ 408 สี่แยกราชเทวี ถนนเพชรบุรี ปัจจุบันรื้อถอนแล้ว)และเขียนบทความสารคดีต่างๆ เกี่ยวกับประเพณีทั้งใน-นอกวัง อาทิ

  • พระราชประวัติสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง
  • ราชาภิสดุดี
  • ประเพณีวัง
  • เจ้า
  • เบญจราชกกุธภัณฑ์ และ ราชูปโภค
  • วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
  • ประเพณีการสมรส
  • เรื่องเรือนหอ
  • เพชร-พลอย
  • เครื่องประดับของไทย
  • ช่าง 10 หมู่
  • บทสนทนา เรื่อง "เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์" ฯลฯ

ที่สำคัญที่สุด คือได้รับพระเมตตาจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ให้เขียนจดหมายทูลถามความรู้เกี่ยวกับราชประเพณีโบราณ โต้ตอบกับพระองค์ท่าน ทำนองเป็นจดหมายเวรติดต่อเป็นเวลาหลายปี ซึ่งมีบุคคลเพียงไม่กี่ท่านที่จะได้รับพระเมตตาเช่นนี้

นอกจากการแสวงหาความรู้จากหนังสือแล้ว พระยาเทวาธิราช ยังมีความสามารถในการถ่ายภาพนิ่งและภาพยนตร์ จนถึงได้เป็นสมาชิกของสมาคมภาพยนตร์สมัครเล่นแห่งสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในบ้านของท่านจะมีห้องสำหรับล้างฟิล์มโดยเฉพาะ 1 ห้อง รวมถึงห้องฉายภาพยนตร์ด้วย สำหรับภาพยนตร์ที่ท่านสร้างและกำกับมี 2 เรื่องคือ เจ้าหญิงกุณฑลทิพย์และถลางพ่าย

ด้านชีวิตครอบครัว ได้สมรสครั้งแรกกับคุณหญิงเนื่อง มาลากุล มีบุตร 1 คนคือ

  • ม.ล.ปีย์ มาลากุล

เมื่อคุณหญิงเนื่อง ถึงอนิจกรรม ในปี พ.ศ. 2458 ท่านได้สมรสอีกครั้งกับ คุณหญิงเผื่อน มาลากุล ( สกุลเดิม สอาดเอี่ยม ) มีบุตร-ธิดา รวม 9 ท่าน คือ

  • ม.ล.ปุณฑริก ชุมสาย
  • ม.ล.ปัณยา มาลากุล
  • ม.ล.ปิลันธน์ มาลากุล
  • ม.ล.ปานีย์ เพชรไทย
  • ม.ล.ปฤศนี ศรีศุภอรรถ
  • ม.ล.ปัทมาวดี มาลากุล
  • ม.ล.ปารวดี กันภัย
  • ม.ล.ปราลี ประสมทรัพย์
  • ม.ล.โปรพ มาลากุล

บั้นปลายชีวิต ม.ร.ว.เทวาธิราช ป.มาลากุล ป่วยเป็นโรคมะเร็ง และถึงอนิจกรรม ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 สิริรวมอายุได้ 78 ปี

อ้างอิง

  • ปกิณกะ ของ ม.ร.ว.เทวาธิราช ป.มาลากุล ( พิมพ์เป็นอนุสรณ์ ในงานพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์ พระราชทานเพลิงศพ ม.ร.ว.เทวาธิราช ป.มาลากุล ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2510 )