ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคว้นวอลลูน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 48: บรรทัด 48:




'''เขตวัลลูน''' ({{lang-fr|Région wallonne}}; {{lang-de|Wallonische Region}}; {{lang-nl|Wallonië }}) เป็นเขตตามรัฐธรรมนูญของ[[ประเทศเบลเยียม]] ร่วมกับ[[เขตฟลามส์]]และ[[เขตเมืองหลวงบรัสเซลส์]] มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูด[[ภาษาฝรั่งเศส]] แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับ'''ชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียม'''เหมือนในกรณีของ[[เขตฟลามส์]]ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับ[[ชุมชนฟลามส์]] นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมี'''ประชาคมผู้ใช้[[ภาษาเยอรมัน]]''' ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ
'''เขตวัลลูน''' ({{lang-fr|Région wallonne}}; {{lang-de|Wallonische Region}}; {{lang-nl|Wallonië }}) เป็นเขตตามรัฐธรรมนูญของ[[ประเทศเบลเยียม]] ร่วมกับ[[เขตฟลามส์]]และ[[เขตเมืองหลวงบรัสเซลส์]] มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูด[[ภาษาฝรั่งเศส]] แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับ'''[[ชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียม]]'''เหมือนในกรณีของ[[เขตฟลามส์]]ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับ[[ชุมชนฟลามส์]] นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมี'''ประชาคมผู้ใช้[[ภาษาเยอรมัน]]''' ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือ[[นามูร์]] มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน

เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือ[[นามูร์]] มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน
ในช่วง[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] วาโลเนียนั้นเป็นเพียงอันดับสองรองจาก[[สหราชอาณาจักร]]ในด้านอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะการถลุงเหล็กและถ่านหิน ซึ่งนำมาซึ่งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของเขตภูมิภาควัลลูน ตั้งแต่สมัย[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] จนถึงช่วงกลาง[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] วัลลูนถือเป็นครึ่งหนึ่งของเบลเยียมที่ร่ำรวยที่สุด แต่ตั้งแต่[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ทำให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมหนักลดลงอย่างมาก ทำให้เขตฟลามส์นั้นก้าวหน้าขึ้นกว่าเขตวัลลูนในด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันเขตวัลลูนนั้นมีปัญหาด้านอัตราผู้ไม่มีงานทำค่อนข้างสูง และยังมี[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ]]ต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ต่ำกว่า[[เขตฟลามส์]]อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและภาษาของทั้งสองภูมิภาคหลักของเบลเยียมนั้นได้นำพามาซึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในระดับประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:07, 13 สิงหาคม 2556


เขตวัลลูน

Région wallonne (ฝรั่งเศส)
Wallonische Region (เยอรมัน)
ธงของเขตวัลลูน
ธง
ตราราชการของเขตวัลลูน
ตราอาร์ม
เพลง: "Le Chant des Wallons"
ที่ตั้งของเขตวัลลูน
ที่ตั้งของเขตวัลลูน
ประเทศเบลเยียม
เมืองหลวงนามูร์
การปกครอง
 • ผู้ว่าราชการรูดี เดอมอตต์
 • Legislatureรัฐสภาวัลลูน
พื้นที่
 • ทั้งหมด16,844 ตร.กม. (6,504 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (มกราคม ค.ศ. 2012)
 • ทั้งหมด3,546,329 คน
 • ความหนาแน่น210 คน/ตร.กม. (550 คน/ตร.ไมล์)
ลักษณะประชากร
 • ภาษาฝรั่งเศส, เยอรมัน (และ ดัตช์ในเขตเทศบาลที่มีที่อำนวยความสะดวกด้านภาษา)[1]
รหัส ISO 3166BE-WAL
Celebration Dayวันอาทิตย์ที่ 3 ในเดือนกันยายน
เว็บไซต์www.wallonie.be


เขตวัลลูน (ฝรั่งเศส: Région wallonne; เยอรมัน: Wallonische Region; ดัตช์: Wallonië) เป็นเขตตามรัฐธรรมนูญของประเทศเบลเยียม ร่วมกับเขตฟลามส์และเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียมเหมือนในกรณีของเขตฟลามส์ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับชุมชนฟลามส์ นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมีประชาคมผู้ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือนามูร์ มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน

ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม วาโลเนียนั้นเป็นเพียงอันดับสองรองจากสหราชอาณาจักรในด้านอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะการถลุงเหล็กและถ่านหิน ซึ่งนำมาซึ่งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของเขตภูมิภาควัลลูน ตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 วัลลูนถือเป็นครึ่งหนึ่งของเบลเยียมที่ร่ำรวยที่สุด แต่ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมหนักลดลงอย่างมาก ทำให้เขตฟลามส์นั้นก้าวหน้าขึ้นกว่าเขตวัลลูนในด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันเขตวัลลูนนั้นมีปัญหาด้านอัตราผู้ไม่มีงานทำค่อนข้างสูง และยังมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ต่ำกว่าเขตฟลามส์อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและภาษาของทั้งสองภูมิภาคหลักของเบลเยียมนั้นได้นำพามาซึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในระดับประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Johannes Kramer (1984). Zweisprachigkeit in den Benelux-ländern (in German). Buske Verlag. ISBN 3-87118-597-3.

ดูเพิ่ม