ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิล่ามอนสเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'มลรัฐ'→'รัฐ'
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
'''กิล่ามอนสเตอร์''' ({{lang-en|Gila monster}}) เป็น[[กิ้งก่า]]มี[[พิษ]]ชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Heloderma suspectum'' พบในเขต[[ทะเลทรายอริโซน่า]]ทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ของ[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] กิล่ามอนสเตอร์มีความยาวถึงสองฟุต จัดเป็นกิ้งก่าขนาดใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศสหรัฐอเมริกา ลำตัวมีลายดำ ชมพู ส้ม และเหลือง อุปนิสัยเชื่องช้า มักหลบในโพรงเป็นส่วนใหญ่ ล่าสัตว์จำพวกหนู นก และไข่ต่างๆเป็นอาหาร กิล่ามอนสเตอร์สามารถผลิตพิษที่มีผลต่อระบบประสาทของเหยื่อ โดยพิษจะส่งเข้าสู่เหยื่อผ่านทางฟันทางกรามล่าง แต่พิษนี้ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตต่อมนุษย์
'''กิล่ามอนสเตอร์''' ({{lang-en|Gila monster}}) เป็น[[กิ้งก่า]]มี[[พิษ]]ชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Heloderma suspectum'' พบในเขต[[ทะเลทรายอริโซน่า]]ทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ของ[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] กิล่ามอนสเตอร์มีความยาวถึงสองฟุต จัดเป็นกิ้งก่าขนาดใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศสหรัฐอเมริกา ลำตัวมีลายดำ ชมพู ส้ม และเหลือง อุปนิสัยเชื่องช้า มักหลบในโพรงเป็นส่วนใหญ่ ล่าสัตว์จำพวกหนู นก และไข่ต่างๆเป็นอาหาร กิล่ามอนสเตอร์สามารถผลิตพิษที่มีผลต่อระบบประสาทของเหยื่อ โดยพิษจะส่งเข้าสู่เหยื่อผ่านทางฟันทางกรามล่าง แต่พิษนี้ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตต่อมนุษย์


กิล่ามอนสเตอร์เป็น[[สิ่งมีชีวิตที่เกือบอยู่ในข่ายใกล้การสูญพันธุ์|สัตว์ใกล้สูญพันธุ์]]ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการคุ้มครองโดยกฎหมาย ทั้งในท้องถิ่นคือกฎหมายมลรัฐอริโซน่า และในระดับประเทศคือกฎหมายประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศเม็กซิโก ส่วนในระดับนานาชาติกิล่ามอนสเตอร์เป็นสัตว์ในบัญชีหมายเลข ๒ ของ[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์]] (CITES) โดยห้ามส่งออกหรือนำเข้าโดยปราศจากใบอนุญาต ซึ่งรวมถึงประเทศไทย ตามประกาศ[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]<ref>[http://www.dnp.go.th/wffp/law/law_files/prakart.pdf.pdf ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดชนิดของสัตว์ป่าและซากของสัตว์ป่าที่ห้ามนำเข้าและส่งออก]</ref>
กิล่ามอนสเตอร์เป็น[[สิ่งมีชีวิตที่เกือบอยู่ในข่ายใกล้การสูญพันธุ์|สัตว์ใกล้สูญพันธุ์]]ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการคุ้มครองโดยกฎหมาย ทั้งในท้องถิ่นคือกฎหมายรัฐอริโซน่า และในระดับประเทศคือกฎหมายประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศเม็กซิโก ส่วนในระดับนานาชาติกิล่ามอนสเตอร์เป็นสัตว์ในบัญชีหมายเลข ๒ ของ[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์]] (CITES) โดยห้ามส่งออกหรือนำเข้าโดยปราศจากใบอนุญาต ซึ่งรวมถึงประเทศไทย ตามประกาศ[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]<ref>[http://www.dnp.go.th/wffp/law/law_files/prakart.pdf.pdf ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดชนิดของสัตว์ป่าและซากของสัตว์ป่าที่ห้ามนำเข้าและส่งออก]</ref>


สำหรับใน[[ประเทศไทย]]มีการจัดแสดงใน[[สวนสัตว์ดุสิต]]ในช่วงปลายปี [[พ.ศ. 2554]] ถึงต้นปี [[พ.ศ. 2555]]<ref>[http://www.thaipost.net/x-cite/281211/50245 ‘กิลา’กิ้งก่ามีพิษ เขาดินจัดแสดง จาก[[ไทยโพสต์]]]</ref>
สำหรับใน[[ประเทศไทย]]มีการจัดแสดงใน[[สวนสัตว์ดุสิต]]ในช่วงปลายปี [[พ.ศ. 2554]] ถึงต้นปี [[พ.ศ. 2555]]<ref>[http://www.thaipost.net/x-cite/281211/50245 ‘กิลา’กิ้งก่ามีพิษ เขาดินจัดแสดง จาก[[ไทยโพสต์]]]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:26, 4 พฤษภาคม 2556

กิล่ามอนสเตอร์
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Sauria
วงศ์: Helodermatidae
สกุล: Heloderma
สปีชีส์: H.  suspectum
ชื่อทวินาม
Heloderma suspectum
(Edward Drinker Cope, 1869)
ชนิดย่อย
  • H. s. suspectum (Cope, 1869)
  • H. s. cinctum (Bogert & Martên Del Campo, 1956)

กิล่ามอนสเตอร์ (อังกฤษ: Gila monster) เป็นกิ้งก่ามีพิษชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heloderma suspectum พบในเขตทะเลทรายอริโซน่าทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสหรัฐอเมริกา กิล่ามอนสเตอร์มีความยาวถึงสองฟุต จัดเป็นกิ้งก่าขนาดใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศสหรัฐอเมริกา ลำตัวมีลายดำ ชมพู ส้ม และเหลือง อุปนิสัยเชื่องช้า มักหลบในโพรงเป็นส่วนใหญ่ ล่าสัตว์จำพวกหนู นก และไข่ต่างๆเป็นอาหาร กิล่ามอนสเตอร์สามารถผลิตพิษที่มีผลต่อระบบประสาทของเหยื่อ โดยพิษจะส่งเข้าสู่เหยื่อผ่านทางฟันทางกรามล่าง แต่พิษนี้ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตต่อมนุษย์

กิล่ามอนสเตอร์เป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการคุ้มครองโดยกฎหมาย ทั้งในท้องถิ่นคือกฎหมายรัฐอริโซน่า และในระดับประเทศคือกฎหมายประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศเม็กซิโก ส่วนในระดับนานาชาติกิล่ามอนสเตอร์เป็นสัตว์ในบัญชีหมายเลข ๒ ของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ (CITES) โดยห้ามส่งออกหรือนำเข้าโดยปราศจากใบอนุญาต ซึ่งรวมถึงประเทศไทย ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม[1]

สำหรับในประเทศไทยมีการจัดแสดงในสวนสัตว์ดุสิตในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 ถึงต้นปี พ.ศ. 2555[2]

อ้างอิง

แม่แบบ:Link GA