ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถโดยสารประจำทาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: et:Bussijaam
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
[[หมวดหมู่:การคมนาคม]]
[[หมวดหมู่:การคมนาคม]]
{{โครงคมนาคม}}
{{โครงคมนาคม}}

[[bat-smg:Kelėivėniu stacėjė]]
[[cs:Autobusové nádraží]]
[[de:Busbahnhof]]
[[en:Bus station]]
[[es:Estación de autobús]]
[[et:Bussijaam]]
[[fi:Linja-autoasema]]
[[fr:Gare routière]]
[[hr:Autobusni kolodvor]]
[[id:Terminal bus]]
[[it:Autostazione]]
[[ja:バスステーション]]
[[kk:Автовокзал]]
[[ko:버스 터미널]]
[[lt:Autobusų stotis]]
[[ms:Stesen bas]]
[[nl:Busstation]]
[[ru:Автовокзал]]
[[so:Busteejo]]
[[uk:Автовокзал]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:39, 10 มีนาคม 2556

สถานีรถโดยสารประจำทาง เป็นจุดรับส่งและจุดจอดรถโดยสารประจำทาง ซึ่งเป็นรถโดยสารเดินทางในเมืองหรือระหว่างเมือง ในประเทศไทยท่ารถจะมีอยู่ในทุกจังหวัด ทุกอำเภอ และอาจจะมีบางตำบลที่เป็นตำบลสำคัญๆ ในต่างประเทศท่ารถจะมีอยู่ตามเมืองสำคัญและเมืองใหญ่ โดยที่เมืองใหญ่บางแห่งอาจมีท่ารถมากกว่าหนึ่งท่า ท่ารถแบ่งออกได้เป็นหลายแบบ ทั้งท่ารถขนาดใหญ่สำหรับรถโดยสารประจำทางขนาดใหญ่หรือรถทัวร์ ท่ารถขนาดกลางสำหรับรถโดยสารขนาดกลาง และท่ารถขนาดเล็กสำหรับรถโดยสารขนาดเล็ก หรือรถสองแถว ซึ่งขนาดของท่ารถจะขึ้นอยู่กับสำคัญของจังหวัด อำเภอ หรือตำบลนั้นๆ

ในประเทศไทยนั้นนอกจากท่ารถจะเป็นของรัฐแล้ว ยังมีท่ารถของเอกชน ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อเป็นจุดจอดรับ-ส่งผู้โดยสารสำหรับบริษัทเอกชนนั้นๆ ด้วย เช่นท่ารถของบริษัทเชิดชัยทัวร์ ท่ารถของบริษัทนครชัยแอร์เป็นต้น สำหรับที่ท่ารถนอกจากจะเป็นอาคารสำหรับจอดรถแล้ว ยังมีพนักงาน นายท่ารถ ทำการอยู่ด้วย

แหล่งข้อมูลอื่น