ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัลลูนอากาศร้อน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มังกรคาบแก้ว (คุย | ส่วนร่วม)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 75: บรรทัด 75:
{{Link GA|lt}}
{{Link GA|lt}}


[[af:Warmlugballon]]
[[ang:Ballōn (lyftcræft)#Hātlyftballōn]]
[[ang:Ballōn (lyftcræft)#Hātlyftballōn]]
[[ca:Montgolfier]]
[[cs:Horkovzdušný balon]]
[[cy:Balŵn ysgafnach nag aer]]
[[de:Heißluftballon]]
[[en:Hot air balloon]]
[[eo:Varmaerbalono]]
[[et:Kuumaõhupall]]
[[fi:Kuumailmapallo]]
[[fr:Montgolfière]]
[[fy:Loftballon]]
[[hr:Balon na vrući zrak]]
[[hu:Hőlégballon]]
[[id:Balon udara panas]]
[[it:Mongolfiera]]
[[ja:熱気球]]
[[ka:მონგოლფიერი]]
[[ko:열기구]]
[[lt:Karšto oro balionas]]
[[ms:Belon udara panas]]
[[nn:Varmluftsballong]]
[[no:Varmluftballong]]
[[pl:Balon na ogrzane powietrze]]
[[ro:Balon cu aer cald]]
[[ru:Монгольфьер]]
[[sv:Luftballong]]
[[uk:Монгольф'єр]]
[[zh-yue:熱氣球]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:11, 9 มีนาคม 2556

บอลลูนอากาศร้อนขณะบินกลางอากาศ
บอลลูนอากาศร้อนที่มีรูปร่างเป็นผึ้ง
บอลลูนอากาศร้อนที่มีรูปร่างเป็นเต่า
บอลลูนอากาศร้อนลอยอยู่เหนือเมือง Cappadocia

บัลลูนอากาศร้อน (อังกฤษ: hot air balloon) เป็นอากาศยานชนิดให้ความร้อนด้วยถุงเก็บความร้อนใช้หลักการความดันอากาศในการประดิษฐ์

กลไกการประดิษฐ์

โคมลอย ชนิดของบอลลูนอากาศร้อนที่เก่าแก่ที่สุด
ภาพประกอบทางเทคนิค ของการออกแบบบอลลูนอากาศร้อนรุ่นแรกในปี ค.ศ.1818

บัลลูนอากาศร้อนเป็นอากาศยานเพื่อใช้ในการเคลือนที่ในอากาศได้เป็นชนิดแรกของโลก โดยมีการนำมาใช้จริงในวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1783 ที่กรุงปารีส บัลลูนจะมีถุงหรือซองเก็บอากาศที่ร้อนและมีความหนาแน่นต่ำกว่าอากาศที่อยู่นอกถุง จึงทำให้มันลอยขึ้นจากพื้นได้ ตัวถุงมักทำด้วยผ้าใบไนลอนและจะเป็นถุงเปิดทางด้านล่าง เพื่อเปิดต่อกับทางเข้าของความร้อนและตัวถุงจะมีความดันใกล้เคียงบรรยากาศภายนอกข้างใต้ถุง มักจะมีตะกร้าหรือแคปซูลเพื่อเป็นแหล่งกำเนิดความร้อน โดยใช้แก๊สหรือเชื่อเพลิงร้อน โดยมีพื้นที่ในการใช้พื้นที่สำหรับผู้ควบคุมหรือผู้โดยสาร โดยใช้หลักการเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของลมแต่ถ้าเรือเหาะชนิดอื่นๆจะมีเครื่องยนต์ในการบังคับการเคลื่อนที่และความเร็วในการเคลื่อนที่ได้

ประวัติในอดีต

  • อดีตที่จีนสมัยสามก๊ก ขงเบ้งมีการใช้บัลลูนอากาศร้อนขนาดเล็กที่ทำด้วยกระดาษเพื่อส่งสัญญาณทางทหาร
  • ในประเทศเปรู ประเทศโปรตุเกส ก็เคยมีการทำบัลลูนอากาศร้อนขนาดเล็กแต่ไม่มีคนโดยสารไปด้วยมาก่อน
โมเดลบอลลูนของพี่น้องมองโกลฟิแยร์ที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ลอนดอน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • Needham, Joseph (1986). Science and Civilization in China: Volume 4, Physics and Physical Technology, Part 2, Mechanical Engineering. Taipei: Caves Books Ltd.

ลิงก์อื่นๆ

  • [1] British Balloon and Airship Club - แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการบิน
  • [2] Balloon Federation of America


ผู้ผลิตบอลลูน

กลไกการประดิษฐ์

  • XLTA.org - เว็บไซต์เกี่ยวกับการผลิตบอลลูนอากาศร้อน
  • Hot Air Balloon Reference - ปูมหลังการผลิต ประวัติ วัตถุดิบ และขั้นตอนของการประดิษฐ์บอลลูน

ประวัติ

อื่นๆ

แม่แบบ:Link GA