ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจับลิ่มของเลือด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ang:Ȝerinnunȝang:Gerinnung
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
[[หมวดหมู่:การแข็งตัวของเลือด]]
[[หมวดหมู่:การแข็งตัวของเลือด]]


[[ang:Gerinnung]]
[[ar:تخثر]]
[[az:Qanın laxtalanması]]
[[be:Згусанне крыві]]
[[be:Згусанне крыві]]
[[bg:Кръвосъсирване]]
[[bn:তঞ্চন]]
[[ca:Coagulació]]
[[cs:Srážení krve]]
[[da:Koagulation]]
[[de:Hämostase#Übersicht über Gerinnungsfaktoren und Inhibitoren]]
[[de:Hämostase#Übersicht über Gerinnungsfaktoren und Inhibitoren]]
[[en:Coagulation]]
[[es:Coagulación]]
[[et:Vere hüübimine]]
[[eu:Gatzapen]]
[[fa:انعقاد خون]]
[[fi:Veren hyytyminen]]
[[fr:Coagulation sanguine]]
[[ga:Téachtadh]]
[[gl:Coagulación do sangue]]
[[he:קרישת דם]]
[[hu:Véralvadás]]
[[id:Koagulasi]]
[[it:Coagulazione del sangue]]
[[ja:凝固・線溶系]]
[[kk:Қан ұюы]]
[[lt:Kraujo krešėjimas]]
[[mk:Коагулација]]
[[ml:രക്തം കട്ടപിടിക്കൽ]]
[[ml:രക്തം കട്ടപിടിക്കൽ]]
[[nl:Bloedstolling]]
[[om:Coagulation]]
[[pl:Krzepnięcie krwi]]
[[pt:Coagulação sanguínea]]
[[qu:Tikaya]]
[[ru:Свёртывание крови]]
[[sh:Zgrušavanje krvi]]
[[simple:Clot]]
[[sl:Strjevanje krvi]]
[[sr:Згрушавање крви]]
[[sv:Blodkoagulering]]
[[ta:குருதி உறைதல்]]
[[tr:Koagülasyon]]
[[uk:Згортання крові]]
[[vi:Sự đông máu]]
[[yi:בלוט פארגליווערונג]]
[[zh:凝固作用]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:38, 8 มีนาคม 2556

The classical blood coagulation pathway[1]

การแข็งตัวของเลือด (อังกฤษ: coagulation) คือกระบวนการซึ่งทำให้เลือดกลายเป็นลิ่มเลือด เป็นกลไกสำคัญของการห้ามเลือด ทำให้เกล็ดเลือดจับกับไฟบรินกลายเป็นลิ่มเลือด อุดรอยรั่วของหลอดเลือด ทำให้เลือดไม่ไหลออกจากหลอดเลือด หากมีความผิดปกติเกิดขึ้นกับกระบวนการนี้อาจทำให้เลือดไม่แข็งตัวอย่างที่ควรจะเป็น เกิดเลือดออกง่าย หรือเลือดแข็งตัวง่ายกว่าที่ควรจะเป็น เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด

กระบวนการการแข็งตัวของเลือดเป็นกระบวนการที่มีการคงอยู่ในระบบพันธุกรรมสูงมาก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดมีกลไกการแข็งตัวของเลือดที่ได้รับการพัฒนาสูง กระบวนการนี้ประกอบขึ้นจากสองส่วนคือส่วนของเซลล์ (เกล็ดเลือด) และส่วนของโปรตีน (ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด) ระบบการแข็งตัวของเลือดในมนุษย์ได้รับการศึกษาวิจัยอย่างมาก จึงเป็นที่เข้าใจมากที่สุด

กลไกการแข็งตัวของเลือดเริ่มต้นขึ้นแทบจะทันทีที่เกิดการบาดเจ็บต่อหลอดเลือด เกิดการเว้าแหว่งของผนังหลอดเลือด เมื่อเลือดได้สัมผัสกับโปรตีนที่อยู่นอกหลอดเลือด เช่น tissue factor ก็จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเกล็ดเลือดและไฟบริโนเจนซึ่งเป็นปัจจัยการแข็งตัวของเลือดตัวหนึ่ง เกล็ดเลือดจะมาจับที่จุดบาดเจ็บทันที เป็นกระบวนการห้ามเลือดขั้นปฐมภูมิ จากนั้นกระบวนการห้ามเลือดขั้นทุติยภูมิก็จะเริ่มขึ้นพร้อมๆ กัน โปรตีนต่างๆ ในเลือดที่รวมเรียกว่าปัจจัยการแข็งตัวของเลือดจะมีการกระตุ้นปฏิกิริยาอย่างเป็นลำดับและซับซ้อน จนสุดท้ายแล้วทำให้เกิดเส้นใยไฟบรินขึ้น ซึ่งจะเสริมความแข็งแรงของก้อนเกล็ดเลือดที่จับกันอยู่

ประวัติศาสตร์

การเรียกชื่อ

ที่ประชุมประจำปีของผู้เชี่ยวชาญเรื่องการแข็งตัวของเลือดได้ตกลงยอมรับการใช้ตัวเลขโรมันเป็นการตั้งชื่อสารในการแข็งตัวของเลือดตั้งแต่ ค.ศ. 1955 จากนั้นปี 1962 จึงยอมรับให้ใช้ตัวเลขในการตั้งชื่อสารปัจจัยแฟกเตอร์ 1-12 ที่ประชุมนี้ต่อมาได้กลายเป็นที่ประชุมนานาชาติว่าด้วยการเกิดลิ่มเลือดและการห้ามเลือด (International Committee on Thrombosis and Hemostasis, ICTH) จากนั้นการกำหนดชื่อด้วยตัวเลขถูกยกเลิกไปหลังจากมีการกำหนดชื่อแฟกเตอร์ 13 และเริ่มมีการตั้งชื่อโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือดในรูปแบบอื่น เช่น Fletcher Factor, Fitzgerald Factor, prekallikrein, hight-molecular-weight kininogen เป็นต้น

แฟกเตอร์ 3 และแฟกเตอร์ 4 ไม่มีอยู่ เนื่องจากไม่เคยมีใครพบ thromboplastin แต่กลายเป็นว่าขั้นตอนนี้ประกอบด้วยแฟกเตอร์อื่นๆ อีก 10 ตัว ส่วน accelerin ต่อมาก็พบว่าเป็นแฟกเตอร์ 5 รูปแอกทีฟ

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ isbn1-904842-39-9