ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาสลาฟ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 136: บรรทัด 136:
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาสลาวิก|ส]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาสลาวิก|ส]]
[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน]]
[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน]]

[[af:Slawiese tale]]
[[als:Slawische Sprachen]]
[[an:Luengas eslavas]]
[[ar:لغات سلافية]]
[[arz:لغات سلافيه]]
[[ast:Llingües eslaves]]
[[av:Славяниял мацIал]]
[[az:Slavyan dilləri]]
[[bat-smg:Slavu kalbas]]
[[be:Славянскія мовы]]
[[be-x-old:Славянскія мовы]]
[[bg:Славянски езици]]
[[bn:স্লাভীয় ভাষাসমূহ]]
[[br:Yezhoù slavek]]
[[bs:Slavenski jezici]]
[[ca:Llengües eslaves]]
[[crh:Slavân tilleri]]
[[cs:Slovanské jazyky]]
[[csb:Słowiańsczé jãzëczi]]
[[cu:Словѣньсци ѩꙁꙑци]]
[[cv:Славян чĕлхисем]]
[[cy:Ieithoedd Slafonaidd]]
[[da:Slaviske sprog]]
[[de:Slawische Sprachen]]
[[diq:Zıwanê Slawki]]
[[dsb:Słowjańske rěcy]]
[[el:Σλαβικές γλώσσες]]
[[en:Slavic languages]]
[[eo:Slava lingvaro]]
[[es:Lenguas eslavas]]
[[et:Slaavi keeled]]
[[eu:Eslaviar hizkuntzak]]
[[fa:زبان‌های اسلاوی]]
[[fi:Slaavilaiset kielet]]
[[fr:Langues slaves]]
[[fur:Lenghis slavis]]
[[fy:Slavyske talen]]
[[ga:Teangacha Slavacha]]
[[gd:Cànanan Slàbhach]]
[[gl:Linguas eslavas]]
[[he:שפות סלאביות]]
[[hi:स्लावी भाषाएँ]]
[[hr:Slavenski jezici]]
[[hsb:Słowjanske rěče]]
[[hu:Szláv nyelvek]]
[[hy:Սլավոնական լեզուներ]]
[[id:Rumpun bahasa Slavia]]
[[io:Slava lingui]]
[[is:Slavnesk tungumál]]
[[it:Lingue slave]]
[[ja:スラヴ語派]]
[[jv:Basa Slavik]]
[[ka:სლავური ენები]]
[[ko:슬라브어파]]
[[ku:Zimanên slavî]]
[[kw:Yethow Slavek]]
[[la:Linguae Slavicae]]
[[li:Slavische taole]]
[[lmo:Lengov slav]]
[[lt:Slavų kalbos]]
[[lv:Slāvu valodas]]
[[mhr:Славян йылме-влак]]
[[mk:Словенски јазици]]
[[mr:स्लाव्हिक भाषा]]
[[myv:Славянонь кельть]]
[[mzn:اسلاوی زوونون]]
[[nl:Slavische talen]]
[[nn:Slaviske språk]]
[[no:Slaviske språk]]
[[nrm:Langue Slave]]
[[oc:Lengas eslavas]]
[[os:Славяйнаг æвзæгтæ]]
[[pl:Języki słowiańskie]]
[[pms:Lenghe slave]]
[[pnb:سلاوی بولیاں]]
[[ps:سلاوي ژبې]]
[[pt:Línguas eslavas]]
[[qu:Islaw rimaykuna]]
[[rmy:Slavikane chhiba]]
[[ro:Limbile slave]]
[[ru:Славянские языки]]
[[rue:Славяньскы языкы]]
[[sh:Slavenski jezici]]
[[simple:Slavic languages]]
[[sk:Slovanské jazyky]]
[[sl:Slovanski jeziki]]
[[sq:Grupi Sllav]]
[[sr:Словенски језици]]
[[stq:Slawiske Sproaken]]
[[sv:Slaviska språk]]
[[sw:Lugha za Kislavoni]]
[[szl:Słowjańske godki]]
[[ta:சிலாவிய மொழிகள்]]
[[tg:Забонҳои славянӣ]]
[[tl:Mga wikang Eslabo]]
[[tr:Slav dilleri]]
[[udm:Славян кылъёс]]
[[uk:Слов'янські мови]]
[[ur:سلافیہ زبانیں]]
[[vi:Ngữ tộc Slav]]
[[vls:Slaviesche toaln]]
[[vo:Püks slavik]]
[[yi:סלאווישע שפראכן]]
[[yo:Àwọn èdè Sílàfù]]
[[zea:Slaovische taelen]]
[[zh:斯拉夫语族]]
[[zh-min-nan:Slav gí-giân]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:57, 8 มีนาคม 2556

  ประเทศที่มีกลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตกเป็นภาษาประจำชาติ
  ประเทศที่มกลุ่มภาษาสลาวิกตะวันออกเป็นภาษาประจำชาติ
  ประเทศที่มกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาประจำชาติ

กลุ่มภาษาสลาวิก เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาบัลโต-สลาวิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาสลาวิกเป็นภาษาแม่ของชาวสลาฟ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน

แก้ไข กลุ่มภาษาสลาวิก

สาขา

กลุ่มภาษาสลาวิกแบ่งได้เป็น 3 สาขา ดังต่อไปนี้

ลักษณะร่วมกัน

  • กลุ่มภาษาสลาวิกมีเสียงพยัญชนะจำนวนมากที่มีลักษณะลิ้นส่วนหน้าสู่เพดานแข็งควบคู่กับเสียงพยัญชนะที่มีลักษณะปกติ
  • กลุ่มภาษาสลาวิกมีเสียงพยัญชนะควบที่ซับซ้อนกว่าภาษาไทยมาก เช่น คำว่า žblnknutie ในภาษาสโลวัก ซึ่งมีเสียงพยัญชนะถึงหกเสียงที่เป็นเสียงพยัญชนะต้นในพยางค์แรก

ตัวอย่างคำร่วมเชื้อสาย

ภาษาต้นกำเนิดกลุ่มภาษาสลาวิก รัสเซีย โปแลนด์ เช็ก สโลวัก บัลแกเรีย ภาษาโครเอเชีย เซอร์เบีย เบลารุส สโลวีเนีย โครเอเชีย บอสเนีย ยูเครน มาซิโดเนีย
*ogъnь (ไฟ) огонь ogień oheň oheň огън oganj огањ агонь ogenj oganj oganj вогонь оган
*ryba (ปลา) рыба ryba ryba ryba риба riba риба рыба riba riba riba риба риба
*gnězdo รังนก) гнездо gniazdo hnízdo hniezdo гнездо gnijezdo гнездо гняздо gnezdo gnijezdo gnijezdo гнiздо гнездо
*oko (ดวงตา) око oko oko oko око oko око вока oko oko oko око око

อิทธิพลต่อภาษาอื่น

ภาษาเกือบทั้งหมดของประเทศอดีตสหภาพโซเวียต ภาษาของชนกลุ่มน้อยในรัสเซีย รวมทั้งภาษาของประเทศเพื่อนบ้านของรัสเซียต่างก็ได้รับอิทธิพลจากภาษารัสเซีย โดยเฉพาะในด้านคำศัพท์ ภาษาโรมาเนีย ภาษาแอลเบเนีย และภาษาฮังการี ซึ่งประเทศของภาษาเหล่านี้ต่างก็รายล้อมไปด้วยประเทศที่มีกลุ่มภาษาสลาวิกเป็นภาษาประจำชาติอยู่รายล้อม ก็ได้รับอิทธิพลทางภาษาไปด้วยเช่นกัน โดยแต่ละภาษาจะมีคำยืมจากกลุ่มภาษาสลาวิกอยู่อย่างน้อย 20% ของจำนวนคำทั้งหมด ภาษาโรมาเนียเองก็ยังได้รับอิทธิพลของกลุ่มภาษาสลาวิกในด้านอื่น ๆ ทั้ง สัทศาสตร์ วากยสัมพันธ์ และไวยากรณ์

กลุ่มภาษาเจอร์มานิกจะได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาสลาวิกน้อยกว่า ทั้ง ๆ ที่มีเขตแดนติดต่อกัน เพราะว่าชาวสลาฟมักจะอพยพลงไปทางใต้มากกว่า แทนที่จะไปทางตะวันตก มีแนวโน้มที่จะลดอิทธิพลของกลุ่มภาษาสลาวิกในกลุ่มภาษาเจอร์มานิกด้วยเหตุผลทางการเมือง มีเพียงภาษายิดดิชเพียงภาษาเดียวเท่านั้น ที่พอจะมีอิทธิพลของกลุ่มภาษาสลาวิกที่เห็นได้ชัด แต่ก็ยังพบอิทธิพลดังกล่าวอยู่ในภาษาอื่น ๆ ด้วย เช่น คำว่า Grenze (ชายแดน) ในภาษาเยอรมัน มาจากคำว่า *granica ซึ่งเป็นคำร่วมเชื้อสายของกลุ่มภาษาสลาวิก คำว่า quark (เนยแข็งชนิดหนึ่ง) ในภาษาอังกฤษ ซึ่งยืมมาจากคำว่า Quark ในภาษาเยอรมัน ก็มาจากคำว่า tvarog ในภาษาสวีเดนยังมีคำว่า torg (ตลาด) tolk (ล่าม) และ pråm (เรือบรรทุก) ซึ่งมาจากคำว่า tъrgъ[1] tlŭkŭ[2] และ pramŭ[3] ในกลุ่มภาษาสลาวิกตามลำดับ

คำว่า pistol และ robot ซึ่งเป็นคำในภาษาเช็ค ก็เป็นคำที่มีใช้ในหลาย ๆ ภาษา

อ้างอิง

กลุ่มภาษาสลาวิก

  1. (สวีเดน) Hellquist, Elof (1922). "torg". Svensk etymologisk ordbok. Project Runeberg. สืบค้นเมื่อ 2006-12-27.
  2. (สวีเดน) Hellquist, Elof (1922). "tolk". Svensk etymologisk ordbok. Project Runeberg. สืบค้นเมื่อ 2006-12-27.
  3. (สวีเดน) Hellquist, Elof (1922). "pråm". Svensk etymologisk ordbok. Project Runeberg. สืบค้นเมื่อ 2006-12-27.