ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความล้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{ความหมายอื่น|||เมื่อย (แก้ความกำกวม)}}
{{ความหมายอื่น|||เมื่อย (แก้ความกำกวม)}}
{{SignSymptom infobox
{{SignSymptom infobox

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:15, 12 กุมภาพันธ์ 2556

ความล้า
Fatigue
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10R53
ICD-9780.7
DiseasesDB30079
MedlinePlus003088
MeSHD005221

ความล้า หรือ ความอ่อนล้า เป็นความรู้สึกเหนื่อยเชิงจิตวิสัย ซึ่งแตกต่างจากความอ่อนแอ (weakness) และมีการตั้งต้นทีละน้อย ความล้าสามารถบรรเทาได้โดยได้รับการพักผ่อนชั่วระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งต่างจากความอ่อนแอ ความล้าอาจมีสาเหตุทางร่างกายหรือจิตใจก็ได้ ความล้าทางกายภาพเป็นสภาพที่กล้ามเนื้อไม่สามารถธำรงสมรรถภาพทางกายภาพเหมาะสมได้ชั่วคราว และกิจกรรมทางกายอย่างหักโหมยิ่งทำให้ความล้ารุนแรงขึ้น[1][2][3] ความล้าทางจิตใจเป็นการลดสมรรถภาพการรู้สูงสุดไปชั่วคราว อันเป็นผลมาจากกิจกรรมการคิดยาวนาน ความล้าสามารถแสดงออกมาเป็นอาการง่วงซึม ภาวะง่วงงุน หรือความล้ามุ่งประเด็นตั้งใจ[4]

อ้างอิง

  1. Gandevia SC. "Some central and peripheral factors affecting human motoneuronal output in neuromuscular fatigue". Sports medicine (Auckland, N.Z.). 13 (2): 93–8 year=1992. doi:10.2165/00007256-199213020-00004. PMID 1561512. {{cite journal}}: ไม่มี pipe ใน: |pages= (help)
  2. Hagberg M (1981). "Muscular endurance and surface electromyogram in isometric and dynamic exercise". Journal of Applied Physiology. 51 (1): 1–7. PMID 7263402.
  3. Hawley JA, Reilly T (1997). "Fatigue revisited". Journal of sports sciences. 15 (3): 245–6. doi:10.1080/026404197367245. PMID 9232549.
  4. Marcora, Samuele (2009). "Mental fatigue impairs physical performance in humans". Journal of Applied Physiology. 106 (3): 857–864. doi:10.​1152/​japplphysiol.​91324.​2008. {{cite journal}}: |access-date= ต้องการ |url= (help); zero width space character ใน |doi= ที่ตำแหน่ง 4 (help); ตรวจสอบค่า |doi= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)