ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: fr:Manuel diagnostique et statistique des troubles mentaux
FoxBot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
[[sr:Dijagnostički i statistički priručnik za mentalne poremećaje]]
[[sr:Dijagnostički i statistički priručnik za mentalne poremećaje]]
[[sv:Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders]]
[[sv:Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders]]
[[tl:Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders]]
[[tr:Mental Bozuklukların Tanısal ve Sayımsal El Kitabı]]
[[tr:Mental Bozuklukların Tanısal ve Sayımsal El Kitabı]]
[[wuu:精神疾病诊断搭仔统计手冊]]
[[wuu:精神疾病诊断搭仔统计手冊]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:14, 30 กันยายน 2554

บทความนี้มีชื่อเป็นภาษาอื่น หรือใช้อักษรในภาษาอื่น เนื่องจากต้องการคงไว้ตามต้นฉบับ หรือไม่มีชื่อภาษาไทยที่เหมาะสม

Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders (DSM) เป็นหลักเกณฑ์การวินิจฉัยความผิดปกติทางจิตซึ่งจัดทำโดยสมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกา (American Psychiatric Association) ซึ่งถูกอ้างอิงอย่างกว้างขวางโดยแพทย์ นักวิจัย ผู้ผลิตและผู้ตรวจสอบคุณภาพยาในทางจิตเวช และบริษัทประกันภัยทั้งในสหรัฐอเมริกาและที่อื่นๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ในปัจจุบันฉบับปรับปรุงล่าสุดคือเป็นฉบับที่ 4 เรียกว่า DSM-IV ในปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) และมีฉบับปรับปรุงครั้งย่อยในปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000)

นอกเหนือจากเกณฑ์การวินิจฉัยดังกล่าว ยังมีเกณฑ์วินิจฉัยอีกอย่างหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้มากเช่นกันในประเทศไทยและหลายประเทศ คือส่วนของความผิดปกติทางจิตในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (International Classification of Diseases and Related Health Problems) หรือ ICD ซึ่งมีการจัดระบบใกล้เคียงกันและแตกต่างกันในบางรายละเอียด