ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ''' ({{lang-en|International Un...
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


IUPAC ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ให้ทำหน้าที่สืบต่อจากสภาเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาวิชา[[เคมี]] สมาชิกของสหภาพฯ ซึ่งได้แก่ National Adhering Organization อาจเป็นสมาคมเคมีประจำประเทศ สถาบันวิทยาศาสตร์ประจำประเทศ หรือองค์การอื่นที่เป็นตัวแทนของนักเคมีก็ได้ [[ระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC]] ได้รับการยอมรับจากนักวิชาการทั่วโลกในการพัฒนามาตรฐานสำหรับการตั้งชื่อ[[ธาตุเคมี]]และสารประกอบ นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นมา IUPAC ได้มีคณะกรรมการหลายชุดซึ่งมีความรับผิดชอบแตกต่างกัน<ref name="governing committees">[http://www.iupac.org/Organization/Committees IUPAC Committees list] retrieved 15 April 2010</ref> คณะกรรมการเหล่านี้ต่างทำงานในหลายโครงการซึ่งรวมไปถึงการวางมาตรฐานระบบการตั้งชื่อ<ref name="Interdivisional Committee on Terminology">[http://www.iupac.org/web/ins/027 Interdivisional Committee on Terminology web page] retrieved 15 April 2010</ref> ค้นหาวิธีในการนำเคมีมาสู่โลก<ref name="CHEMRAWN activities">[http://www.iupac.org/news/archives/2007/44th_council/Item_12-2_2007.pdf Chemdrawn] retrieved 15 April 2010</ref> และตีพิมพ์ผลงานต่าง ๆ
IUPAC ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ให้ทำหน้าที่สืบต่อจากสภาเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาวิชา[[เคมี]] สมาชิกของสหภาพฯ ซึ่งได้แก่ National Adhering Organization อาจเป็นสมาคมเคมีประจำประเทศ สถาบันวิทยาศาสตร์ประจำประเทศ หรือองค์การอื่นที่เป็นตัวแทนของนักเคมีก็ได้ [[ระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC]] ได้รับการยอมรับจากนักวิชาการทั่วโลกในการพัฒนามาตรฐานสำหรับการตั้งชื่อ[[ธาตุเคมี]]และสารประกอบ นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นมา IUPAC ได้มีคณะกรรมการหลายชุดซึ่งมีความรับผิดชอบแตกต่างกัน<ref name="governing committees">[http://www.iupac.org/Organization/Committees IUPAC Committees list] retrieved 15 April 2010</ref> คณะกรรมการเหล่านี้ต่างทำงานในหลายโครงการซึ่งรวมไปถึงการวางมาตรฐานระบบการตั้งชื่อ<ref name="Interdivisional Committee on Terminology">[http://www.iupac.org/web/ins/027 Interdivisional Committee on Terminology web page] retrieved 15 April 2010</ref> ค้นหาวิธีในการนำเคมีมาสู่โลก<ref name="CHEMRAWN activities">[http://www.iupac.org/news/archives/2007/44th_council/Item_12-2_2007.pdf Chemdrawn] retrieved 15 April 2010</ref> และตีพิมพ์ผลงานต่าง ๆ

IUPAC เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในผลงานด้านการวางมาตรฐานระบบการตั้งชื่อในวิชาเคมีและวิทยาศาสตร์สาขาอื่น แต่ IUPAC ยังได้มีผลงานตีพิมพ์ในหลายสาขา ทั้งในด้านเคมี ชีววิทยาและฟิสิกส์ ผลงานที่สำคัญของ IUPAC ในสาขาเหล่านี้รวมไปถึงการวางมาตรฐานชื่อรหัสลำดับเบสนิวคลีโอไทด์<ref name="IYC">[http://www.chemistry2011.org/about-iyc/introduction IYC: Introduction.] July 9, 2009. Retrieved on February 17, 2010. retrieved 15 April 2010</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:15, 30 มิถุนายน 2554

สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Union of Pure and Applied Chemistry, ย่อ: IUPAC /ไอยูแพ็ก/) เป็นสหพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งประกอบด้วยองค์กรที่เป็นตัวแทนของนักเคมีในแต่ละประเทศ สหภาพฯ เป็นสมาชิกของสภาสหภาพวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (ICSU)[1] มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สำนักงานบริหาร หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สำนักเลขาธิการ IUPAC" ตั้งอยู่ที่อุทยานสามเหลี่ยมวิจัย รัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา สำนักงานบริหารแห่งนี้นำโดยผู้อำนวยการบริหารของ IUPAC[2]

IUPAC ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ให้ทำหน้าที่สืบต่อจากสภาเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาวิชาเคมี สมาชิกของสหภาพฯ ซึ่งได้แก่ National Adhering Organization อาจเป็นสมาคมเคมีประจำประเทศ สถาบันวิทยาศาสตร์ประจำประเทศ หรือองค์การอื่นที่เป็นตัวแทนของนักเคมีก็ได้ ระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC ได้รับการยอมรับจากนักวิชาการทั่วโลกในการพัฒนามาตรฐานสำหรับการตั้งชื่อธาตุเคมีและสารประกอบ นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นมา IUPAC ได้มีคณะกรรมการหลายชุดซึ่งมีความรับผิดชอบแตกต่างกัน[3] คณะกรรมการเหล่านี้ต่างทำงานในหลายโครงการซึ่งรวมไปถึงการวางมาตรฐานระบบการตั้งชื่อ[4] ค้นหาวิธีในการนำเคมีมาสู่โลก[5] และตีพิมพ์ผลงานต่าง ๆ

IUPAC เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในผลงานด้านการวางมาตรฐานระบบการตั้งชื่อในวิชาเคมีและวิทยาศาสตร์สาขาอื่น แต่ IUPAC ยังได้มีผลงานตีพิมพ์ในหลายสาขา ทั้งในด้านเคมี ชีววิทยาและฟิสิกส์ ผลงานที่สำคัญของ IUPAC ในสาขาเหล่านี้รวมไปถึงการวางมาตรฐานชื่อรหัสลำดับเบสนิวคลีโอไทด์[6]

อ้างอิง

  1. "IUPAC National Adhering Organizations". Iupac.org. 2011-06-02. สืบค้นเมื่อ 2011-06-08.
  2. "IUPAC Council Agenda Book 2009" (PDF). IUPAC. 2009. สืบค้นเมื่อ 2010-04-17.
  3. IUPAC Committees list retrieved 15 April 2010
  4. Interdivisional Committee on Terminology web page retrieved 15 April 2010
  5. Chemdrawn retrieved 15 April 2010
  6. IYC: Introduction. July 9, 2009. Retrieved on February 17, 2010. retrieved 15 April 2010