ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรรกศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: zh-min-nan:Lô-chek
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ตรรกศาสตร์''' (มาจากคำว่า λόγος (logos) ใน[[ภาษากรีก]]) คือมักถูกกล่าวว่าเป็นการศึกษาเกี่ยวกับ[[การโต้แย้งเชิงตรรกศาสตร์|การโต้แย้ง]] แต่ความหมายที่แน่นอนของตรรกศาสตร์ก็ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่ในหมู่[[นักปรัชญา]] อย่างไรก็ตาม เนื้อหาวิชานี้ค่อนข้างแน่นอน กล่าวคือ หน้าที่ของนักตรรกศาสตร์ คือการพัฒนาระบบการให้เหตุผล เพื่อทำให้สามารถแยกแยะระหว่างข้อพิสูจน์ที่ดีกับข้อพิสูจน์ที่ผิดพลาดได้
'''ตรรกศาสตร์''' ({{lang-el|λόγος (logos)}}) คือมักถูกกล่าวว่าเป็นการศึกษาเกี่ยวกับ[[การโต้แย้งเชิงตรรกศาสตร์|การโต้แย้ง]] แต่ความหมายที่แน่นอนของตรรกศาสตร์ก็ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่ในหมู่[[นักปรัชญา]] อย่างไรก็ตาม เนื้อหาวิชานี้ค่อนข้างแน่นอน กล่าวคือ หน้าที่ของนักตรรกศาสตร์ คือการพัฒนาระบบการให้เหตุผล เพื่อทำให้สามารถแยกแยะระหว่างข้อพิสูจน์ที่ดีกับข้อพิสูจน์ที่ผิดพลาดได้


== ที่มาของคำ ==
== ที่มาของคำ ==
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


ใน[[ภาษาไทย]] เดิมมีคำนี้ใช้อยู่แล้ว ซึ่งน่าจะได้มาจาก[[ภาษาบาลี]] [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] (อย่างเช่นใน [[กาลามสูตร]] 10 ข้อ ที่ มีกล่าวไว้ว่าข้อหนึ่งว่า "''อย่าเชื่อ เพราะ ได้คิดคำนึงเอาด้วย ตักฺกะ''") ซึ่งอาจจะมีความหมายไม่ตรงทีเดียวนักกับคำว่าตรรกศาสตร์ที่ใช้ในภาษาปัจจุบัน
ใน[[ภาษาไทย]] เดิมมีคำนี้ใช้อยู่แล้ว ซึ่งน่าจะได้มาจาก[[ภาษาบาลี]] [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] (อย่างเช่นใน [[กาลามสูตร]] 10 ข้อ ที่ มีกล่าวไว้ว่าข้อหนึ่งว่า "''อย่าเชื่อ เพราะ ได้คิดคำนึงเอาด้วย ตักฺกะ''") ซึ่งอาจจะมีความหมายไม่ตรงทีเดียวนักกับคำว่าตรรกศาสตร์ที่ใช้ในภาษาปัจจุบัน

{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:นามธรรม]]
[[หมวดหมู่:นามธรรม]]
บรรทัด 14: บรรทัด 12:
[[หมวดหมู่:คณิตศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:คณิตศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ปรัชญา]]
[[หมวดหมู่:ปรัชญา]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[af:Logika]]
[[af:Logika]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:02, 1 ตุลาคม 2553

ตรรกศาสตร์ (กรีก: λόγος (logos)) คือมักถูกกล่าวว่าเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการโต้แย้ง แต่ความหมายที่แน่นอนของตรรกศาสตร์ก็ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่ในหมู่นักปรัชญา อย่างไรก็ตาม เนื้อหาวิชานี้ค่อนข้างแน่นอน กล่าวคือ หน้าที่ของนักตรรกศาสตร์ คือการพัฒนาระบบการให้เหตุผล เพื่อทำให้สามารถแยกแยะระหว่างข้อพิสูจน์ที่ดีกับข้อพิสูจน์ที่ผิดพลาดได้

ที่มาของคำ

คำว่า "ตรรกศาสตร์" ในปัจจุบัน เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้แทนแนวคิดเรื่อง Logic ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำว่า λόγος (logos) ในภาษากรีก ที่มีความหมายเดิมว่าคำ หรือสิ่งที่ถูกกล่าว หลาย ๆ ประเทศที่ใช้อักษรโรมันในการเขียนก็มีศัพท์ที่พูดถึงแนวคิดนี้ในลักษณะชื่อที่คล้ายๆกัน

ในภาษาไทย เดิมมีคำนี้ใช้อยู่แล้ว ซึ่งน่าจะได้มาจากภาษาบาลี สันสกฤต (อย่างเช่นใน กาลามสูตร 10 ข้อ ที่ มีกล่าวไว้ว่าข้อหนึ่งว่า "อย่าเชื่อ เพราะ ได้คิดคำนึงเอาด้วย ตักฺกะ") ซึ่งอาจจะมีความหมายไม่ตรงทีเดียวนักกับคำว่าตรรกศาสตร์ที่ใช้ในภาษาปัจจุบัน