ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นางกุสาวดี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการสรุป}}
{{เก็บกวาด}}
{{เก็บกวาด}}

== พระนางกุสาวดี ==
พระนางเป็นอิสตรีที่มีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ไทยอีกพระองค์ โดยมีส่วนเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอยุธยาถึง 3 พระองค์ คือ [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] [[สมเด็จพระเพทราชา]] และ [[สมเด็จพระสรรเพชญที่ 7]] (สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี )หรือ หรือพระนามที่เป็นที่รู้จักกันดีว่า '''สมเด็จพระเจ้าเสือ'''
'''พระนางกุสาวดี''' เป็นอิสตรีที่มีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ไทยอีกพระองค์ โดยมีส่วนเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอยุธยาถึง 3 พระองค์ คือ [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] [[สมเด็จพระเพทราชา]] และ [[สมเด็จพระสรรเพชญที่ 7]] (สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี )หรือ หรือพระนามที่เป็นที่รู้จักกันดีว่า '''สมเด็จพระเจ้าเสือ''' จะกล่าวไปแล้ว '''พระนางกุสาวดี''' นั้นมีความเกี่ยวพันกับพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์ "พลูหลวง" ของกรุงศรีอยุธยาทั้ง 7 พระองค์ รวมทั้งสมเด็จพระนารายมหาราชแห่งราชวงศ์ปราสาททองแล้ว รวมทั้งหมดเป็น 8 พระองค์

จะกล่าวไปแล้ว '''พระนางกุสาวดี''' นั้นมีความเกี่ยวพันกับพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์ "พลูหลวง" ของกรุงศรีอยุธยาทั้ง 7 พระองค์ รวมทั้งสมเด็จพระนารายมหาราชแห่งราชวงศ์ปราสาททองแล้ว รวมทั้งหมดเป็น 8 พระองค์
== พระประวัติ ==


ตามประวัติเท่าที่สืบค้นได้ในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา และอาณาจักรล้านนา กล่าวว่า''' พระนางกุสาวดี'''หรือมักนิยมเรียกว่า เจ้านางกุสาวดี นั้น เดิมชื่อ '''เจ้านางกุลธิดา''' เป็นพระธิดาในพญาแสนหลวง ซึ่งเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในสมัยพ.ศ. 2193 (ขณะนั้นเป็นเมืองขึ้นแก่พม่า) ครองเมืองได้ 13 ปี ใน พ.ศ. 2205 ก็เสียเมืองให้แก่เจ้าพระยาโกษาธิบดี(เหล็ก)ซึ่งเป็นแม่ทัพในรัชสมัยของพระนารายณ์มหาราช...ในครั้งนั้น เจ้านางกุลธิดาได้ถูกนำตัวมาถวายเป็นบาทบาจาริกาแก่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นพระสนม นามว่า พระสนมกุสาวดี ต่อมาได้ยกพระนางให้อภิเษกกับพระเพทราชา ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็น '''เจ้ากรมช้าง''' กล่าวกันว่าขณะนั้นพระนางได้ทรงครรภ์พระโอรสกับสมเด็จพระนารายณ์แล้ว แต่เกิดความละอายที่มีลูกกับหญิงลาว (ซึ่งแต่เดิมไทยอยุธยาถือว่าเชียงใหม่หรืออาราจักรล้านนาก็เป็นลาวเหมืองกับล้านช้าง-หลวงพระบาง-เวียงจันทร์ และดูถูกว่าต่ำต้อยกว่าไทยที่อยุธยาหรือรัตนโกสินทร์) ซึ่งเจึงยกนางนั้นให้แก่พระเพทราชาดูแลต่อ กล่าวกันว่าหลังจากที่พระนางได้ให้ประสูติพระโอรสที่จังหวัดพิจิตร (วัดโพธิประทับช้าง)แล้ว ก็ไม่มีผู้ใดได้พบพระนางกลับมาที่วังอีก ... ดังนั้นพระโอรสที่ประสูติจากพระนางจึงเป็น บุตรบุญธรรมของ พระเพทราชา ...ซึ่งก็คือ '''หลวงสรศักดิ์ (สมเด็จพระเจ้าเสือ)''' พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาต่อมานั่นเอง...
ตามประวัติเท่าที่สืบค้นได้ในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา และอาณาจักรล้านนา กล่าวว่า''' พระนางกุสาวดี'''หรือมักนิยมเรียกว่า เจ้านางกุสาวดี นั้น เดิมชื่อ '''เจ้านางกุลธิดา''' เป็นพระธิดาในพญาแสนหลวง ซึ่งเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในสมัยพ.ศ. 2193 (ขณะนั้นเป็นเมืองขึ้นแก่พม่า) ครองเมืองได้ 13 ปี ใน พ.ศ. 2205 ก็เสียเมืองให้แก่เจ้าพระยาโกษาธิบดี(เหล็ก)ซึ่งเป็นแม่ทัพในรัชสมัยของพระนารายณ์มหาราช...ในครั้งนั้น เจ้านางกุลธิดาได้ถูกนำตัวมาถวายเป็นบาทบาจาริกาแก่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นพระสนม นามว่า พระสนมกุสาวดี ต่อมาได้ยกพระนางให้อภิเษกกับพระเพทราชา ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็น '''เจ้ากรมช้าง''' กล่าวกันว่าขณะนั้นพระนางได้ทรงครรภ์พระโอรสกับสมเด็จพระนารายณ์แล้ว แต่เกิดความละอายที่มีลูกกับหญิงลาว (ซึ่งแต่เดิมไทยอยุธยาถือว่าเชียงใหม่หรืออาราจักรล้านนาก็เป็นลาวเหมืองกับล้านช้าง-หลวงพระบาง-เวียงจันทร์ และดูถูกว่าต่ำต้อยกว่าไทยที่อยุธยาหรือรัตนโกสินทร์) ซึ่งเจึงยกนางนั้นให้แก่พระเพทราชาดูแลต่อ กล่าวกันว่าหลังจากที่พระนางได้ให้ประสูติพระโอรสที่จังหวัดพิจิตร (วัดโพธิประทับช้าง)แล้ว ก็ไม่มีผู้ใดได้พบพระนางกลับมาที่วังอีก ... ดังนั้นพระโอรสที่ประสูติจากพระนางจึงเป็น บุตรบุญธรรมของ พระเพทราชา ...ซึ่งก็คือ '''หลวงสรศักดิ์ (สมเด็จพระเจ้าเสือ)''' พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาต่อมานั่นเอง...

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:14, 19 กรกฎาคม 2553

พระนางกุสาวดี เป็นอิสตรีที่มีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ไทยอีกพระองค์ โดยมีส่วนเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอยุธยาถึง 3 พระองค์ คือ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระเพทราชา และ สมเด็จพระสรรเพชญที่ 7 (สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี )หรือ หรือพระนามที่เป็นที่รู้จักกันดีว่า สมเด็จพระเจ้าเสือ จะกล่าวไปแล้ว พระนางกุสาวดี นั้นมีความเกี่ยวพันกับพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์ "พลูหลวง" ของกรุงศรีอยุธยาทั้ง 7 พระองค์ รวมทั้งสมเด็จพระนารายมหาราชแห่งราชวงศ์ปราสาททองแล้ว รวมทั้งหมดเป็น 8 พระองค์

พระประวัติ

ตามประวัติเท่าที่สืบค้นได้ในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา และอาณาจักรล้านนา กล่าวว่า พระนางกุสาวดีหรือมักนิยมเรียกว่า เจ้านางกุสาวดี นั้น เดิมชื่อ เจ้านางกุลธิดา เป็นพระธิดาในพญาแสนหลวง ซึ่งเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในสมัยพ.ศ. 2193 (ขณะนั้นเป็นเมืองขึ้นแก่พม่า) ครองเมืองได้ 13 ปี ใน พ.ศ. 2205 ก็เสียเมืองให้แก่เจ้าพระยาโกษาธิบดี(เหล็ก)ซึ่งเป็นแม่ทัพในรัชสมัยของพระนารายณ์มหาราช...ในครั้งนั้น เจ้านางกุลธิดาได้ถูกนำตัวมาถวายเป็นบาทบาจาริกาแก่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นพระสนม นามว่า พระสนมกุสาวดี ต่อมาได้ยกพระนางให้อภิเษกกับพระเพทราชา ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็น เจ้ากรมช้าง กล่าวกันว่าขณะนั้นพระนางได้ทรงครรภ์พระโอรสกับสมเด็จพระนารายณ์แล้ว แต่เกิดความละอายที่มีลูกกับหญิงลาว (ซึ่งแต่เดิมไทยอยุธยาถือว่าเชียงใหม่หรืออาราจักรล้านนาก็เป็นลาวเหมืองกับล้านช้าง-หลวงพระบาง-เวียงจันทร์ และดูถูกว่าต่ำต้อยกว่าไทยที่อยุธยาหรือรัตนโกสินทร์) ซึ่งเจึงยกนางนั้นให้แก่พระเพทราชาดูแลต่อ กล่าวกันว่าหลังจากที่พระนางได้ให้ประสูติพระโอรสที่จังหวัดพิจิตร (วัดโพธิประทับช้าง)แล้ว ก็ไม่มีผู้ใดได้พบพระนางกลับมาที่วังอีก ... ดังนั้นพระโอรสที่ประสูติจากพระนางจึงเป็น บุตรบุญธรรมของ พระเพทราชา ...ซึ่งก็คือ หลวงสรศักดิ์ (สมเด็จพระเจ้าเสือ) พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาต่อมานั่นเอง...

ต่อมาเมื่อสมเด็จพระนารายณ์สิ้นพระชนม์แล้ว หลวงสรศักดิ์ (สมเด็จพระเจ้าเสือ) ได้เป็นกำลังสำคัญในการผลักดันให้ พระเพทราชาบิดาบุญธรรม ยึดอำนาจ โดยพระองค์กำจัดผู้มีสิทธิสืบราชสมบัติ 3 รายคือพระอนุชา 2 องค์ของพระเจ้าแผ่นดินสมัยนั้น คือพระเจ้าอภัยทศและเจ้าฟ้าน้อย รวมทั้งโอรสบุญธรรมคือ พระปีย์ โดยมีพระสงฆ์จำนวนหนึ่งที่ไม่พอใจบาทหลวงคริสต์ศาสนาเข้าร่วม รวมทั้งกองกำลังจากกองทหารมอญที่เข้ามารับราชการอยู่ในไทยเป็นกำลังในการสนับสนุนการยึดอำนาจ ตั้งพระเพทราชาขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาแทนและสถาปนาราชวงศ์ใหม่ คือ ราชวงศ์บ้านพลูหลวงเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวง... ต่อมาเมื่อ พระเพทราชา สิ้นพระชนม์ สมเด็จพระเจ้าเสือ ซึ่งเป็นพระราชโอรสของ พระนางกุสาวดี หรือ เจ้านางกุลธิดา](ธิดาเจ้าครองนครเชียงใหม่) จึงยึดอำนาจจากพระโอรสของพระเพทราชาขึ้นเป็น กษัตริย์แห่งอาณาจักรอยุธยา โดยเป็นกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวงองค์ที่ 2 ...และต่อมาพระโอรสของ พระเจ้าเสือ ก็ได้สืบทอดเป็นกษัตริย์ของอาณาจักรซึ่งถือว่าเป็น "พระนัดดา" ของพระนางกุสาวดีนั่นเอง ด้วยเหตุนี้พระนางกุสาวดี หรือ มเหสีกุสาวดี จึงมีส่วนเกี่ยวข้องกับ พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง ทุกพระองค์...และเป็นมเหสีเทวีของพระมหากษัติริย์ 2 ยุคสมัย คือในสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และ พระเพทราชา

อ้างอิง