ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป่าหิมพานต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
บรรดาสระใหญ่ทั้ง ๗ นั้น สระอโนดาตแวดล้อมไปด้วย[[ภูเขา]]ทั้ง ๕ ที่จัดเป็นยอดเขาหิมพานต์ ยอดเขาทุกยอด มีส่วนสูงและสัณฐาน ๒๐๐ โยชน์ กว้างและยาวได้ ๕๐ โยชน์
บรรดาสระใหญ่ทั้ง ๗ นั้น สระอโนดาตแวดล้อมไปด้วย[[ภูเขา]]ทั้ง ๕ ที่จัดเป็นยอดเขาหิมพานต์ ยอดเขาทุกยอด มีส่วนสูงและสัณฐาน ๒๐๐ โยชน์ กว้างและยาวได้ ๕๐ โยชน์


ในป่านี้เต็มไปด้วย [[สัตว์]]นานาชนิด ซึ่งล้วนแต่แปลกประหลาด ต่างจากสัตว์ที่เรา ๆ รู้จัก เป็นสัตว์หลายอย่างมาผสมกันแล้วตั้งชื่อขึ้นใหม่ สัตว์เหล่านี้เกิดจากจินตนาการของ [[จิตรกรไทย]]โบราณที่ได้สรรค์สร้างภาพต่าง ๆ จากเอกสารเก่าต่างๆ
ในป่านี้เต็มไปด้วย [[สัตว์]]นานาชนิด ซึ่งล้วนแต่แปลกประหลาด ต่างจากสัตว์ที่เรา ๆ รู้จัก เป็นสัตว์หลายอย่างมาผสมกันแล้วตั้งชื่อขึ้นใหม่ สัตว์เหล่านี้เกิดจากจินตนาการของ [[จิตรกรไทย]]โบราณที่ได้สรรค์สร้างภาพต่าง ๆ จากเอกสารเก่าต่างๆ พวกมันเป็นเป็นที่รู้จักในนามของ [[สัตว์หิมพานต์]]


[[หมวดหมู่:ตำนาน]]
[[หมวดหมู่:ตำนาน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:00, 30 มกราคม 2553

ป่าหิมพานต์ เป็นป่าในวรรณคดีซึ่งเป็นจินตนาการของคนไทยมานาน หิมวันต์ ก็เรียก


ตำนานป่าหิมพานต์

ตามตำนานกล่าวไว้ว่าป่าหิมพานต์ตั้งอยู่บนเขา หิมพานต์ หรือหิมาลายา (หิมาลัย) คำว่า “หิมาลายา” นั้นเป็นคำที่ มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤตแปลว่าสถานที่ที่ถูกปกคลุมด้วยหิมะ ภูเขาหิมพานต์ประดิษฐานอยู่ในชมพูทวีปมีเนื้อที่ประมาณ ๓,๐๐๐ โยชน์ (๑ โยชน์ เท่ากับ ๑๐ ไมล์ หรือ ๑๖ กิโลเมตร) วัดโดยรอบได้ ๙,๐๐๐ โยชน์ ประดับด้วยยอด ๘๔,๐๐๐ ยอด มีสระใหญ่ ๗ สระคือ

  1. สระอโนดาต
  2. สระกัณณมุณฑะ
  3. สระรถการะ
  4. สระฉัททันตะ
  5. สระกุณาละ
  6. สระมัณฑากิณี
  7. สระสีหัปปาตะ

บรรดาสระใหญ่ทั้ง ๗ นั้น สระอโนดาตแวดล้อมไปด้วยภูเขาทั้ง ๕ ที่จัดเป็นยอดเขาหิมพานต์ ยอดเขาทุกยอด มีส่วนสูงและสัณฐาน ๒๐๐ โยชน์ กว้างและยาวได้ ๕๐ โยชน์

ในป่านี้เต็มไปด้วย สัตว์นานาชนิด ซึ่งล้วนแต่แปลกประหลาด ต่างจากสัตว์ที่เรา ๆ รู้จัก เป็นสัตว์หลายอย่างมาผสมกันแล้วตั้งชื่อขึ้นใหม่ สัตว์เหล่านี้เกิดจากจินตนาการของ จิตรกรไทยโบราณที่ได้สรรค์สร้างภาพต่าง ๆ จากเอกสารเก่าต่างๆ พวกมันเป็นเป็นที่รู้จักในนามของ สัตว์หิมพานต์