ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rubinbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: es:James III de Inglaterra
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: es:Jacobo III de Inglaterra; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ใช้ปีคศ|width=270px}}
{{ใช้ปีคศ|width=270px}}
[[ภาพ:James Francis Edward Stuart c. 1703 attributed to Alexis Simon Belle.jpg|thumb|270px |“เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต”]]
[[ไฟล์:James Francis Edward Stuart c. 1703 attributed to Alexis Simon Belle.jpg|thumb|270px |“เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต”]]


[[ภาพ:Maria Klementyna Sobieska (1702-1735).jpg|right|thumb|270px|มาเรีย เคลเม็นทินา โซบิเอสกา พระชายา]]
[[ไฟล์:Maria Klementyna Sobieska (1702-1735).jpg|right|thumb|270px|มาเรีย เคลเม็นทินา โซบิเอสกา พระชายา]]
[[ภาพ:Tomb of Stuart in the Vatican.jpg|right|thumb|270px|หลุมศพของเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส]]
[[ไฟล์:Tomb of Stuart in the Vatican.jpg|right|thumb|270px|หลุมศพของเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส]]
'''เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต''' หรือ '''ผู้อ้างสิทธิ'''([[ภาษาอังกฤษ]]: '''James Francis Edward Stuart''' หรือ '''The Old Pretender''' หรือ '''The Old Chevalier''') ([[10 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1688]] – [[1 มกราคม]] [[ค.ศ. 1766]]) เจมส์ได้รับการขนานพระนามว่า '''The Old Pretender''' ([[ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]) ทรงเป็นพระราชโอรสของ[[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]ผู้ถูกปลดจากราชบัลลังก์อังกฤษ และ [[สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา]] ในฐานะที่เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เจมส์ ฟรานซิสจึงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของ[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]] และ[[ราชอาณาจักรสกอตแลนด์]]ในนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์ เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี [[ค.ศ. 1701]] [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส]]ทรงประกาศว่าเจมส์ ฟรานซิสเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์และไอร์แลนด์
'''เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต''' หรือ '''ผู้อ้างสิทธิ'''([[ภาษาอังกฤษ]]: '''James Francis Edward Stuart''' หรือ '''The Old Pretender''' หรือ '''The Old Chevalier''') ([[10 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1688]] – [[1 มกราคม]] [[ค.ศ. 1766]]) เจมส์ได้รับการขนานพระนามว่า '''The Old Pretender''' ([[ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]) ทรงเป็นพระราชโอรสของ[[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]ผู้ถูกปลดจากราชบัลลังก์อังกฤษ และ [[สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา]] ในฐานะที่เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เจมส์ ฟรานซิสจึงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของ[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]] และ[[ราชอาณาจักรสกอตแลนด์]]ในนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์ เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี [[ค.ศ. 1701]] [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส]]ทรงประกาศว่าเจมส์ ฟรานซิสเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์และไอร์แลนด์


==กำเนิด==
== กำเนิด ==
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตทรงเป็นปัญหาตั้งแต่วันที่เกิดที่[[พระราชวังเซนต์เจมส์]]ในปี ค.ศ. 1688 ทรงประสูติในรัชสมัยของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 และพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาผู้เป็น[[โรมันคาทอลิก]] พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทรงมีพระราชธิดาสองพระองค์ก่อนหน้านั้นผู้ได้รับการเลี้ยงดูอย่าง[[นิกายโปรเตสแทนต์]] การที่พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทรงมีพระราชโอรสเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ที่กลัวว่าอังกฤษจะกลับไปตกไปอยู่ใต้การปกครองของประมุขที่เป็นโรมันคาทอลิกต้องหาวิธีกำจัด พระเจ้าเจมส์ที่ 2
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตทรงเป็นปัญหาตั้งแต่วันที่เกิดที่[[พระราชวังเซนต์เจมส์]]ในปี ค.ศ. 1688 ทรงประสูติในรัชสมัยของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 และพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาผู้เป็น[[โรมันคาทอลิก]] พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทรงมีพระราชธิดาสองพระองค์ก่อนหน้านั้นผู้ได้รับการเลี้ยงดูอย่าง[[นิกายโปรเตสแทนต์]] การที่พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทรงมีพระราชโอรสเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ที่กลัวว่าอังกฤษจะกลับไปตกไปอยู่ใต้การปกครองของประมุขที่เป็นโรมันคาทอลิกต้องหาวิธีกำจัด พระเจ้าเจมส์ที่ 2


บรรทัด 14: บรรทัด 14:
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสและพระขนิษฐา[[ลุยซา มาเรีย เทเรซา สจวต]]เติบโตในฝรั่งเศส ในฝรั่งเศส[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]]ทรงยอมรับว่าเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเป็นรัชทายาทของอังกฤษและสกอตแลนด์ เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสกลายเป็นศูนย์กลางของขบวนการสนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต ([[:en:Jacobitism|Jacobitism]])
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสและพระขนิษฐา[[ลุยซา มาเรีย เทเรซา สจวต]]เติบโตในฝรั่งเศส ในฝรั่งเศส[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]]ทรงยอมรับว่าเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเป็นรัชทายาทของอังกฤษและสกอตแลนด์ เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสกลายเป็นศูนย์กลางของขบวนการสนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต ([[:en:Jacobitism|Jacobitism]])


==ชิงราชบัลลังก์==
== ชิงราชบัลลังก์ ==
เมื่อพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เสด็จสวรรคตในปี [[ค.ศ. 1701]] เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ทรงประกาศพระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดินในพระนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์และเป็นที่ยอมรับในฝรั่งเศส สเปน วาติกันและโมดีนา รัฐต่างๆ เหล่านี้ไม่ยอมรับว่า[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระราชินีนาถแมรีที่ 2]] และ [[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าวิลเลียมที่ 3]]เป็นพระมหากษัตริย์ของอังกฤษโดยชอบธรรม
เมื่อพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เสด็จสวรรคตในปี [[ค.ศ. 1701]] เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ทรงประกาศพระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดินในพระนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์และเป็นที่ยอมรับในฝรั่งเศส สเปน วาติกันและโมดีนา รัฐต่างๆ เหล่านี้ไม่ยอมรับว่า[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระราชินีนาถแมรีที่ 2]] และ [[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าวิลเลียมที่ 3]]เป็นพระมหากษัตริย์ของอังกฤษโดยชอบธรรม


==การแข็งข้อของผู้สนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต==
== การแข็งข้อของผู้สนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต ==
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสพยายามชิงพระราชบัลลังก์โดยทรงพยายามที่จะรุกรานอังกฤษเมื่อวันที่ 23 มีนาคม [[ค.ศ. 1708]] โดยขึ้นที่เฟิร์ธออฟฟอร์ธ แต่กองทัพเรือฝรั่งเศสของพระองค์ถูกขับโดยกองทัพเรือของจอร์จ บิง ไวเคานท์ทอร์ริงตัน ถ้าเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสประกาศยกเลิกการเป็นโรมันคาทอลิกก็คงทรงมีโอกาสได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ<ref>Sir Winston Churchill, A History of the English-Speaking Peoples, Vol. 2, Dodd, Mead & Co., NY 1957, pp. 97-98.</ref> แต่ก็ไม่ทรงยอมทำ เมื่อกองทัพฝรั่งเศสพ่ายแพ้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็ทรงถูกบังคับให้มีสัมพันธไมตรีกับอังกฤษและพันธมิตรของอังกฤษโดยการลงนามใน[[สนธิสัญญาอูเทรชท์ ค.ศ. 1713]] ซึ่งข้อหนึ่งในสนธิสัญญาระบุว่าต้องขับเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสจากฝรั่งเศส
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสพยายามชิงพระราชบัลลังก์โดยทรงพยายามที่จะรุกรานอังกฤษเมื่อวันที่ 23 มีนาคม [[ค.ศ. 1708]] โดยขึ้นที่เฟิร์ธออฟฟอร์ธ แต่กองทัพเรือฝรั่งเศสของพระองค์ถูกขับโดยกองทัพเรือของจอร์จ บิง ไวเคานท์ทอร์ริงตัน ถ้าเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสประกาศยกเลิกการเป็นโรมันคาทอลิกก็คงทรงมีโอกาสได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ<ref>Sir Winston Churchill, A History of the English-Speaking Peoples, Vol. 2, Dodd, Mead & Co., NY 1957, pp. 97-98.</ref> แต่ก็ไม่ทรงยอมทำ เมื่อกองทัพฝรั่งเศสพ่ายแพ้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็ทรงถูกบังคับให้มีสัมพันธไมตรีกับอังกฤษและพันธมิตรของอังกฤษโดยการลงนามใน[[สนธิสัญญาอูเทรชท์ ค.ศ. 1713]] ซึ่งข้อหนึ่งในสนธิสัญญาระบุว่าต้องขับเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสจากฝรั่งเศส


==สิบห้า==
== สิบห้า ==
ปีต่อมาผู้สนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต (Jacobite) ก็ริเริ่ม [[สงครามฟื้นฟูราชวงศ์สจวต]] (The Fifteen Jacobite rising) ในสกอตแลนด์เพื่อกู้ราชบัลลังก์ให้แก่เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส ในปี ค.ศ. 1715 เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ได้ขึ้นฝั่งที่สกอตแลนด์หลังศึกเชอริฟเมอร์ แต่ก็ทรงผิดหวังกับกำลังที่สนับสนุน แทนที่จะเข้าพิธีราชาภิเศกที่สโคน เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเสด็จกลับฝรั่งเศสทางเรือจากมอนท์โรส แต่ไม่ทรงได้รับการต้อนรับในฝรั่งเศสหลังจากที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เสด็จสวรรคตไปแล้ว
ปีต่อมาผู้สนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต (Jacobite) ก็ริเริ่ม [[สงครามฟื้นฟูราชวงศ์สจวต]] (The Fifteen Jacobite rising) ในสกอตแลนด์เพื่อกู้ราชบัลลังก์ให้แก่เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส ในปี ค.ศ. 1715 เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ได้ขึ้นฝั่งที่สกอตแลนด์หลังศึกเชอริฟเมอร์ แต่ก็ทรงผิดหวังกับกำลังที่สนับสนุน แทนที่จะเข้าพิธีราชาภิเศกที่สโคน เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเสด็จกลับฝรั่งเศสทางเรือจากมอนท์โรส แต่ไม่ทรงได้รับการต้อนรับในฝรั่งเศสหลังจากที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เสด็จสวรรคตไปแล้ว


==ชีวิต “ผู้อ้างสิทธิ”==
== ชีวิต “ผู้อ้างสิทธิ” ==
[[สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 11]]ประทานวังมูติในกรุงโรมให้เป็นที่ประทับของเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส [[สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 13]]ก็ทรงสนับสนุนเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเช่นกัน นอกจากนั้นคาร์ดินัลฟิลลิปโป อันโตนิโอ กุอัลเทริโอยังเจรจาตกลงให้ทางวาติกันจ่ายเงินประจำปึตลอดชีพปีละ 8,000 โรมันซึ่งเป็นจำนวนที่พอเพียงสำหรับการตั้งราชสำนักจัคโคไบต์ที่โรมได้
[[สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 11]]ประทานวังมูติในกรุงโรมให้เป็นที่ประทับของเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส [[สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 13]]ก็ทรงสนับสนุนเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเช่นกัน นอกจากนั้นคาร์ดินัลฟิลลิปโป อันโตนิโอ กุอัลเทริโอยังเจรจาตกลงให้ทางวาติกันจ่ายเงินประจำปึตลอดชีพปีละ 8,000 โรมันซึ่งเป็นจำนวนที่พอเพียงสำหรับการตั้งราชสำนักจัคโคไบต์ที่โรมได้


==การแต่งงาน==
== การแต่งงาน ==
เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1719 เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ทรงเสกสมรสกับมาเรีย เคลเม็นทินา โซบิเอสกา (Maria Klementyna Sobieska) ผู้เป็นพระนัดดาของ[[พระเจ้าจอห์นที่ 3 แห่งโปแลนด์]] ทรงมีพระโอรสด้วยกันสององค์
เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1719 เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ทรงเสกสมรสกับมาเรีย เคลเม็นทินา โซบิเอสกา (Maria Klementyna Sobieska) ผู้เป็นพระนัดดาของ[[พระเจ้าจอห์นที่ 3 แห่งโปแลนด์]] ทรงมีพระโอรสด้วยกันสององค์


บรรทัด 32: บรรทัด 32:
# [[เฮนรี เบนเนดิค สจวต]] (Henry Benedict Stuart), ([[11 March]] [[ค.ศ. 1725]] – [[13 July]] [[ค.ศ. 1807]]) ต่อมาเป็นคาร์ดินัล
# [[เฮนรี เบนเนดิค สจวต]] (Henry Benedict Stuart), ([[11 March]] [[ค.ศ. 1725]] – [[13 July]] [[ค.ศ. 1807]]) ต่อมาเป็นคาร์ดินัล


==บอนนีพรินซ์ชาร์ลี==
== บอนนีพรินซ์ชาร์ลี ==
หลังจากที่เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสไม่ประสพความสำเร็จก็ทรงหันไปสนับสนุนพระโอรสในการพยายามยึดราชบัลลังก์อังกฤษและสกอตแลนด์ ความพยายามในปี ค.ศ. 1745 เกือบได้รับความสำเร็จ แต่ความพ่ายแพ้ครั้งที่สองทำให้ความหวังในการยึดราชบัลลังก์อังกฤษและสกอตแลนด์เป็นอันต้องสิ้นสุดลง
หลังจากที่เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสไม่ประสพความสำเร็จก็ทรงหันไปสนับสนุนพระโอรสในการพยายามยึดราชบัลลังก์อังกฤษและสกอตแลนด์ ความพยายามในปี ค.ศ. 1745 เกือบได้รับความสำเร็จ แต่ความพ่ายแพ้ครั้งที่สองทำให้ความหวังในการยึดราชบัลลังก์อังกฤษและสกอตแลนด์เป็นอันต้องสิ้นสุดลง


==สิ้นพระชนม์==
== สิ้นพระชนม์ ==
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสสิ้นพระชนม์ที่กรุงโรมเมื่อวันที่ [[1 มกราคม]] [[ค.ศ. 1766]] พระศพถูกฝังไว้ที่[[มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์]] ในวันที่ [[14 มกราคม]] [[ค.ศ. 1766]] รัฐบาลวาติกันก็ยอมรับ[[ราชวงศ์ฮาโนเวอร์]]ว่าเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอังกฤษและไอร์แลนด์โดยชอบธรรม
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสสิ้นพระชนม์ที่กรุงโรมเมื่อวันที่ [[1 มกราคม]] [[ค.ศ. 1766]] พระศพถูกฝังไว้ที่[[มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์]] ในวันที่ [[14 มกราคม]] [[ค.ศ. 1766]] รัฐบาลวาติกันก็ยอมรับ[[ราชวงศ์ฮาโนเวอร์]]ว่าเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอังกฤษและไอร์แลนด์โดยชอบธรรม


== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
* [[ราชวงศ์สจวต]]
* [[ราชวงศ์สจวต]]
* [[ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]
* [[ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]
บรรทัด 44: บรรทัด 44:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{เรียงลำดับ|จเมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต}}

{{birth|1688}}{{death|1766}}


[[หมวดหมู่:ราชวงศ์สจวต]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์สจวต]]
บรรทัด 49: บรรทัด 52:
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์สกอตแลนด์]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์สกอตแลนด์]]
[[หมวดหมู่:ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]
[[หมวดหมู่:ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]
{{เรียงลำดับ|จเมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต}}

{{birth|1688}}{{death|1766}}


[[bs:Jakov Franjo Edvard od Velsa]]
[[bs:Jakov Franjo Edvard od Velsa]]
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
[[en:James Francis Edward Stuart]]
[[en:James Francis Edward Stuart]]
[[eo:James Francis Edward Stuart]]
[[eo:James Francis Edward Stuart]]
[[es:James III de Inglaterra]]
[[es:Jacobo III de Inglaterra]]
[[fi:James Stuart]]
[[fi:James Stuart]]
[[fr:Jacques François Stuart]]
[[fr:Jacques François Stuart]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:40, 3 มกราคม 2553

“เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต”
มาเรีย เคลเม็นทินา โซบิเอสกา พระชายา
หลุมศพของเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส

เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต หรือ ผู้อ้างสิทธิ(ภาษาอังกฤษ: James Francis Edward Stuart หรือ The Old Pretender หรือ The Old Chevalier) (10 มิถุนายน ค.ศ. 16881 มกราคม ค.ศ. 1766) เจมส์ได้รับการขนานพระนามว่า The Old Pretender (ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์) ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษผู้ถูกปลดจากราชบัลลังก์อังกฤษ และ สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา ในฐานะที่เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เจมส์ ฟรานซิสจึงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชอาณาจักรอังกฤษ และราชอาณาจักรสกอตแลนด์ในนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์ เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1701 พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสทรงประกาศว่าเจมส์ ฟรานซิสเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์และไอร์แลนด์

กำเนิด

เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตทรงเป็นปัญหาตั้งแต่วันที่เกิดที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในปี ค.ศ. 1688 ทรงประสูติในรัชสมัยของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 และพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาผู้เป็นโรมันคาทอลิก พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทรงมีพระราชธิดาสองพระองค์ก่อนหน้านั้นผู้ได้รับการเลี้ยงดูอย่างนิกายโปรเตสแทนต์ การที่พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทรงมีพระราชโอรสเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ที่กลัวว่าอังกฤษจะกลับไปตกไปอยู่ใต้การปกครองของประมุขที่เป็นโรมันคาทอลิกต้องหาวิธีกำจัด พระเจ้าเจมส์ที่ 2

เมื่อเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสประสูติก็มีข่าวลือว่าเจมส์ ฟรานซิสมิใช่พระราชโอรสที่แท้จริงแต่เป็นเด็กที่ถูกลักลอบเข้ามาในถาดถ่านที่ใช้อุ่นเตียงก่อนนอน (bed-warming pan) เข้ามาในห้องที่แมรีแห่งโมดีนาใช้ประสูติเพื่อแทนพระโอรสที่สิ้นพระชนม์หลังประสูติ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคมเพียงไม่ถึงหกเดือนหลังประสูติพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาก็พาพระโอรสหลบหนีไปฝรั่งเศสเพื่อความปลอดภัย ขณะที่พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ยังประทับอยู่ในอังกฤษพยายามรักษาราชบัลลังก์ไว้

เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสและพระขนิษฐาลุยซา มาเรีย เทเรซา สจวตเติบโตในฝรั่งเศส ในฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 14ทรงยอมรับว่าเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเป็นรัชทายาทของอังกฤษและสกอตแลนด์ เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสกลายเป็นศูนย์กลางของขบวนการสนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต (Jacobitism)

ชิงราชบัลลังก์

เมื่อพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1701 เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ทรงประกาศพระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดินในพระนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์และเป็นที่ยอมรับในฝรั่งเศส สเปน วาติกันและโมดีนา รัฐต่างๆ เหล่านี้ไม่ยอมรับว่าพระราชินีนาถแมรีที่ 2 และ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3เป็นพระมหากษัตริย์ของอังกฤษโดยชอบธรรม

การแข็งข้อของผู้สนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต

เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสพยายามชิงพระราชบัลลังก์โดยทรงพยายามที่จะรุกรานอังกฤษเมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1708 โดยขึ้นที่เฟิร์ธออฟฟอร์ธ แต่กองทัพเรือฝรั่งเศสของพระองค์ถูกขับโดยกองทัพเรือของจอร์จ บิง ไวเคานท์ทอร์ริงตัน ถ้าเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสประกาศยกเลิกการเป็นโรมันคาทอลิกก็คงทรงมีโอกาสได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ[1] แต่ก็ไม่ทรงยอมทำ เมื่อกองทัพฝรั่งเศสพ่ายแพ้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็ทรงถูกบังคับให้มีสัมพันธไมตรีกับอังกฤษและพันธมิตรของอังกฤษโดยการลงนามในสนธิสัญญาอูเทรชท์ ค.ศ. 1713 ซึ่งข้อหนึ่งในสนธิสัญญาระบุว่าต้องขับเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสจากฝรั่งเศส

สิบห้า

ปีต่อมาผู้สนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต (Jacobite) ก็ริเริ่ม สงครามฟื้นฟูราชวงศ์สจวต (The Fifteen Jacobite rising) ในสกอตแลนด์เพื่อกู้ราชบัลลังก์ให้แก่เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส ในปี ค.ศ. 1715 เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ได้ขึ้นฝั่งที่สกอตแลนด์หลังศึกเชอริฟเมอร์ แต่ก็ทรงผิดหวังกับกำลังที่สนับสนุน แทนที่จะเข้าพิธีราชาภิเศกที่สโคน เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเสด็จกลับฝรั่งเศสทางเรือจากมอนท์โรส แต่ไม่ทรงได้รับการต้อนรับในฝรั่งเศสหลังจากที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เสด็จสวรรคตไปแล้ว

ชีวิต “ผู้อ้างสิทธิ”

สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 11ประทานวังมูติในกรุงโรมให้เป็นที่ประทับของเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 13ก็ทรงสนับสนุนเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเช่นกัน นอกจากนั้นคาร์ดินัลฟิลลิปโป อันโตนิโอ กุอัลเทริโอยังเจรจาตกลงให้ทางวาติกันจ่ายเงินประจำปึตลอดชีพปีละ 8,000 โรมันซึ่งเป็นจำนวนที่พอเพียงสำหรับการตั้งราชสำนักจัคโคไบต์ที่โรมได้

การแต่งงาน

เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1719 เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ทรงเสกสมรสกับมาเรีย เคลเม็นทินา โซบิเอสกา (Maria Klementyna Sobieska) ผู้เป็นพระนัดดาของพระเจ้าจอห์นที่ 3 แห่งโปแลนด์ ทรงมีพระโอรสด้วยกันสององค์

  1. ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด สจวต (Charles Edward Stuart), (31 ธันวาคม ค.ศ. 172031 มกราคม ค.ศ. 1788) หรือที่รู้จักกันในนาม บอนนีพรินซ์ชาร์ลี (Bonnie Prince Charlie)
  2. เฮนรี เบนเนดิค สจวต (Henry Benedict Stuart), (11 March ค.ศ. 172513 July ค.ศ. 1807) ต่อมาเป็นคาร์ดินัล

บอนนีพรินซ์ชาร์ลี

หลังจากที่เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสไม่ประสพความสำเร็จก็ทรงหันไปสนับสนุนพระโอรสในการพยายามยึดราชบัลลังก์อังกฤษและสกอตแลนด์ ความพยายามในปี ค.ศ. 1745 เกือบได้รับความสำเร็จ แต่ความพ่ายแพ้ครั้งที่สองทำให้ความหวังในการยึดราชบัลลังก์อังกฤษและสกอตแลนด์เป็นอันต้องสิ้นสุดลง

สิ้นพระชนม์

เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสสิ้นพระชนม์ที่กรุงโรมเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1766 พระศพถูกฝังไว้ที่มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ ในวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1766 รัฐบาลวาติกันก็ยอมรับราชวงศ์ฮาโนเวอร์ว่าเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอังกฤษและไอร์แลนด์โดยชอบธรรม

ข้อมูลเพิ่มเติม

อ้างอิง

  1. Sir Winston Churchill, A History of the English-Speaking Peoples, Vol. 2, Dodd, Mead & Co., NY 1957, pp. 97-98.