ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใช้หมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้หลายระบบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Modernkoro (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Modernkoro (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


ตามประกาศ[[คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ]] เล่ม 126 ตอนพิเศษ 109 ง วันที่ [[3 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2552]] การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่จะเป็นเครื่องมือที่สามารถคุ้มครองผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการ เมื่อผู้ใช้บริการต้องการเปลี่ยนผู้ให้บริการ สถานที่ หรือประเภทบริการ การส่งเสริมการบริการโทรคมนาคม สนับสนุนให้เกิดการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม เพื่อการใช้ทรัพยากรโทรคมนาคมอย่างคุ้มค่าสำหรับการให้บริการโทรคมนาคมต่อสาธารณะ
ตามประกาศ[[คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ]] เล่ม 126 ตอนพิเศษ 109 ง วันที่ [[3 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2552]] การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่จะเป็นเครื่องมือที่สามารถคุ้มครองผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการ เมื่อผู้ใช้บริการต้องการเปลี่ยนผู้ให้บริการ สถานที่ หรือประเภทบริการ การส่งเสริมการบริการโทรคมนาคม สนับสนุนให้เกิดการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม เพื่อการใช้ทรัพยากรโทรคมนาคมอย่างคุ้มค่าสำหรับการให้บริการโทรคมนาคมต่อสาธารณะ

==หลักการทางเทคนิค==
ในทางปฏิบัติแล้วผู้ให้บริการจะต้องรับภาระในการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์โครงข่ายเพื่อให้การประยุกต์ระบบ MNP เกิดขึ้นได้ แต่จะต้องเปลี่ยนมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับแนวทางการประยุกต์เชิงเทคนิคที่สำคัญ ได้แก่ วิธีการจัดเส้นทางการเรียก (call routing) และฐานข้อมูลเลขหมาย (numbering database)
===วิธีการจัดเส้นทางการเรียก===
มีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ Call forwarding (CF) และ All call query (ACQ)
====Call forwarding====
Call forwarding หรือ CF มีข้อดีคือ การประยุกต์ทำได้ง่าย เนื่องจากโครงข่ายของผู้เรียกจะดำเนินการเชื่อมต่อการเรียกไปยังโครงข่ายปลายทางเดิมของผู้ถูกเรียกตามปกติ ซึ่งโครงข่ายปลายทางที่ผู้ถูกเรียกได้ขอย้ายออกไปแล้วนั้น เราจะเรียกว่า Donor Networkโครงข่ายนี้เองจะทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อไปยังโครงข่ายปลายทางใหม่ที่ผู้ถูกเรียกได้ขอย้ายเข้า ซึ่งเราจะเรียกว่า Recipient Network อย่างไรก็ดี วิธี CF นั้นมีข้อเสียหลายประการ อาทิ เช่น ไม่รองรับการ forward SMS/MMS ไม่สามารถแสดงเลขหมายโทรเข้า ส่วนปัญหาเชิงเทคนิค ได้แก่ การสิ้นเปลืองการใช้ช่องสัญญาณเนื่องมาจากการ forward call ระยะเวลาการต่อสัญญาณเรียกใช้เวลานาน เป็นต้น ในปัจจุบันประเทศที่ประยุกต์ใช้วิธี CF ต่างเปลี่ยนมาใช้วิธี ACQ แทน
====All call query====
All call query หรือ ACQ คือ โครงข่ายของผู้เรียกจะเป็นผู้ดำเนินการเชื่อมต่อไปยังโครงข่ายปลายทางปัจจุบันหรือ Recipient Network โดยไม่ต้องดำเนินการเชื่อมต่อสายกลับไปยังโครงข่ายปลายทางเดิมที่ผู้ถูกเรียกเคยใช้บริการอยู่ หรือ Donor Network โครงข่ายของผู้เรียกต้องมีการปรับฐานข้อมูลของเลขหมายที่มีการขอทำการพอร์ตเลขหมายให้สอดคล้องกับความเป็นจริง เพื่อที่จะสามารถเรียกไปยังโครงข่ายปลายทางที่ถูกต้องได้

วิธีการ ACQ นั้นจะมีการใช้ทรัพยากรโครงข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือโครงข่ายของผู้เรียกสามารถจัดเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดไปยังโครงข่ายปัจจุบันของผู้ถูกเรียกได้โดยตรงและสามารถแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นจากการใช้วิธี CF การประยุกต์ใช้ ACQ ต้องลงทุนสูงเนื่องจากต้องมีการลงทุนเพิ่มในส่วนของฐานข้อมูลเลขหมายและระบบจัดการที่เกี่ยวข้อง สำหรับประเทศไทยจะใช้วิธี ACQ
===ฐานข้อมูลเลขหมาย===
การจัดเก็บฐานข้อมูลเลขหมาย ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการจัดเก็บในสองรูปแบบ คือ แบบศูนย์กลาง (Centralized Database) และแบบกระจาย (Distributed Database)

แบบศูนย์กลางจะใช้ฐานข้อมูลอ้างอิงฐานข้อมูลเดียวที่มีเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งหมด หรือมีข้อมูลเลขหมายที่โอนย้ายทั้งหมด โดยอาจไม่จำเป็นต้องเก็บข้อมูลเลขหมายที่ไม่ได้โอนย้าย ซึ่งตามปกติแล้วข้อมูลอ้างอิงนี้จะมีการทำสำเนาให้กับฐานข้อมูลปฏิบัติการ (Operational Databases) ของโครงข่ายที่ร่วมโรงการเป็นหลักสำคัญฐานข้อมูลอ้างอิงแบบศูนย์กลางสำหรับการเปลี่ยนผู้ให้บริการโดยไม่เปลี่ยนเลขหมายมักดำเนินการโดยผู้ให้บริการโครงข่ายซึ่งอาจประกอบด้วยผู้ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือโครงข่ายทั้งหมดที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดสรรเส้นทาง ซึ่งการดำเนินการและการบำรุงรักษาฐานข้อมูลเลขหมายแบบศูนย์กลางอาจทำการคัดเลือกบริษัทอื่นๆที่มีประสบการณ์ในการดูแลฐานข้อมูล

สำหรับฐานข้อมูลแบบกระจายจะมีการเก็บฐานข้อมูลไว้หลายแห่งโดยแต่ละแห่งอาจมีเฉพาะข้อมูลเลขหมายของผู้ให้บริการโครงข่ายของตนเองแห่งเดียวเท่านั้น ข้อมูลทั้งหมดของเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งที่ไม่ได้โอนย้ายและทำการโอนย้ายแล้วจะได้จากการรวบรวมฐานข้อมูลจากแต่ละแห่ง


==การขอโอนย้ายผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่==
==การขอโอนย้ายผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่==
บรรทัด 8: บรรทัด 25:
จะแล้วเสร็จให้ผู้ใช้บริการทราบ และเมื่อดำเนินการโอนย้ายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ให้บริการรายใหม่มีหน้าที่แจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบว่าการขอโอนย้ายผู้ให้บริการสำเร็จแล้ว
จะแล้วเสร็จให้ผู้ใช้บริการทราบ และเมื่อดำเนินการโอนย้ายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ให้บริการรายใหม่มีหน้าที่แจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบว่าการขอโอนย้ายผู้ให้บริการสำเร็จแล้ว


การโอนย้ายผู้ให้บริการจะดำเนินการแล้วเสร็จภายใน 3 วันทำการนับตั้งแต่วันที่ยื่นขอ เว้นแต่มีเหตุจำเป็นอันควรเฉพาะกรณีเอกสารและหลักฐานข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ หรือ ไม่ตรงกับข้อมูลผู้ใช้บริการที่แท้จริงในระบบ โดยผู้ให้บริการรายเดิมมีภาระในการพิสูจน์เหตุจำเป็นอันควรดังกล่าว
การโอนย้ายผู้ให้บริการจะดำเนินการแล้วเสร็จภายใน 3 วันทำการนับตั้งแต่วันที่ยื่นขอ เว้นแต่มีเหตุจำเป็นอันควรเฉพาะกรณีเอกสารและหลักฐานข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ หรือ ไม่ตรงกับข้อมูลผู้ใช้บริการที่แท้จริงในระบบ โดยผู้ให้บริการรายเดิมมีหน้าที่ในการพิสูจน์เหตุจำเป็นอันควรดังกล่าว


อย่างไรก็ดี การนำระบบ MNP นั้นจะมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ระบบ อันได้แก่
อย่างไรก็ดี การนำระบบ MNP นั้นจะมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ระบบ อันได้แก่
บรรทัด 21: บรรทัด 38:


5. ค่าใช้จ่ายที่ผู้ให้บริการต้องรับผิดชอบในส่วนของ bill settlement ที่เกี่ยวข้องกับ clearinghouse ของระบบ MNP
5. ค่าใช้จ่ายที่ผู้ให้บริการต้องรับผิดชอบในส่วนของ bill settlement ที่เกี่ยวข้องกับ clearinghouse ของระบบ MNP

ในทางปฏิบัติแล้วผู้ให้บริการจะต้องรับภาระในการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์โครงข่ายเพื่อให้การประยุกต์ระบบ MNP เกิดขึ้นได้ แต่จะต้องเปลี่ยนมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับแนวทางการประยุกต์เชิงเทคนิคที่สำคัญ ได้แก่ การเลือกประยุกต์ใช้ วิธีการจัดเส้นทางการเรียก (call routing) และฐานข้อมูลเลขหมาย (numbering database) ว่าจะเลือกวิธีใด ซึ่งสามารถอธิบายพอสังเขปได้ดังนี้

วิธีการจัดเส้นทางการเรียก ในทางปฏิบัติในหลายประเทศนั้นมีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ Call forwarding (CF) และ All call query (ACQ)

ในกรณีของ CF นั้น มีข้อดีคือ การประยุกต์ทำได้ง่าย เนื่องจากโครงข่ายของผู้เรียกจะดำเนินการเชื่อมต่อการเรียกไปยังโครงข่ายปลายทางเดิมของผู้ถูกเรียกตามปกติ ซึ่งโครงข่ายปลายทางที่ผู้ถูกเรียกได้ขอย้ายออกไปแล้วนั้น เราจะเรียกว่า Donor Networkโครงข่ายนี้เองจะทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อไปยังโครงข่ายปลายทางใหม่ที่ผู้ถูกเรียกได้ขอย้ายเข้า ซึ่งเราจะเรียกว่า Recipient Network อย่างไรก็ดี วิธี CF นั้นมีข้อเสียหลายประการ อาทิ เช่น ไม่รองรับการ forward SMS/MMS ไม่สามารถแสดงเลขหมายโทรเข้า ส่วนปัญหาเชิงเทคนิค ได้แก่ การสิ้นเปลืองการใช้ช่องสัญญาณเนื่องมาจากการ forward call ระยะเวลาการต่อสัญญาณเรียกใช้เวลานาน เป็นต้น
ปัจจุบันประเทศที่ประยุกต์ใช้วิธี CF ต่างเปลี่ยนมาใช้วิธี ACQ แทน ส่วนวิธีการ ACQ นั้น โครงข่ายของผู้เรียกจะเป็นผู้ดำเนินการเชื่อมต่อไปยังโครงข่ายปลายทางปัจจุบันหรือ Recipient Network โดยไม่ต้องดำเนินการเชื่อมต่อสายกลับไปยังโครงข่ายปลายทางเดิมที่ผู้ถูกเรียกเคยใช้บริการอยู่ หรือ Donor Network โครงข่ายของผู้เรียกต้องมีการปรับฐานข้อมูลของเลขหมายที่มีการขอทำการพอร์ตเลขหมายให้สอดคล้องกับความเป็น
จริง เพื่อที่จะสามารถเรียกไปยังโครงข่ายปลายทางที่ถูกต้องได้ วิธีการ ACQ นั้นจะมีการใช้ทรัพยากรโครงข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือโครงข่าย
ของผู้เรียกสามารถจัดเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดไปยังโครงข่ายปัจจุบันของผู้ถูกเรียกได้โดยตรงและสามารถแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นจากการใช้วิธี CF การประยุกต์ใช้ ACQ ต้องลงทุนสูงเนื่องจากต้องมีการลงทุนเพิ่มในส่วนของฐานข้อมูลเลขหมายและระบบจัดการที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ดีถือเป็นการลงทุนระยะยาวซึ่งคุ้มค่ากว่า ประเทศส่วนใหญ่ที่มีการประยุกต์ใช้ MNP ต่างใช้วิธี ACQ

นอกจากนี้ สิ่งที่สำคัญอีกประการหนึ่งของการประยุกต์ MNP นั้น คือการจัดเก็บฐานข้อมูลเลขหมาย ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการจัดเก็บในสองรูปแบบ คือ

1. แบบศูนย์กลาง (Centralized Database

2. แบบกระจาย (Distributed Database)

แบบศูนย์กลางนั้นจะใช้ฐานข้อมูลอ้างอิงฐานข้อมูลเดียวที่มีเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งหมด หรือมีข้อมูลเลขหมายที่โอนย้ายทั้งหมด โดยอาจไม่จำเป็นต้องเก็บข้อมูลเลขหมายที่ไม่ได้โอนย้าย ซึ่งตามปกติแล้วข้อมูลอ้างอิงนี้จะมีการทำสำเนาให้กับฐานข้อมูลปฏิบัติการ (Operational Databases) ของโครงข่ายที่ร่วมโรงการเป็นหลักสำคัญฐานข้อมูลอ้างอิงแบบศูนย์กลางสำหรับการเปลี่ยนผู้ให้บริการโดยไม่เปลี่ยนเลขหมายมักดำเนินการโดยผู้ให้บริการโครงข่ายซึ่งอาจประกอบด้วยผู้ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือโครงข่ายทั้งหมดที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดสรรเส้นทาง ซึ่งการดำเนินการและการบำรุงรักษาฐานข้อมูลเลขหมายแบบศูนย์กลางอาจทำการคัดเลือกบริษัทอื่นๆที่มีประสบการณ์ในการดูแลฐานข้อมูลสำหรับฐานข้อมูลแบบกระจายนั้นวิธีการนี้มีการเก็บฐานข้อมูลไว้หลายแห่งโดยแต่ละแห่งอาจมีเฉพาะข้อมูลเลขหมายของผู้ให้บริการโครงข่ายของตนเองแห่งเดียวเท่านั้น ข้อมูลทั้งหมดของเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งที่ไม่ได้โอนย้ายและทำการโอนย้ายแล้วจะได้จากการรวบรวมฐานข้อมูลจากแต่ละแห่ง


การใช้ MNP ในต่างประเทศ
การใช้ MNP ในต่างประเทศ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:50, 26 ธันวาคม 2552

การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (อังกฤษ: Mobile Number Portability หรือ MNP) คือ การบริการที่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถขอให้ผู้ให้บริการโอนย้ายเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของตนไปใช้บริการของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่นได้ ซึ่งการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นสิทธิของผู้ใช้บริการ ผู้ให้บริการจะกระทำการใด ๆ อันเป็นเหตุในการกีดกันขัดขวาง หรือหน่วงเหนี่ยวการโอนย้ายผู้ให้บริการมิได้

ตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เล่ม 126 ตอนพิเศษ 109 ง วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552 การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่จะเป็นเครื่องมือที่สามารถคุ้มครองผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการ เมื่อผู้ใช้บริการต้องการเปลี่ยนผู้ให้บริการ สถานที่ หรือประเภทบริการ การส่งเสริมการบริการโทรคมนาคม สนับสนุนให้เกิดการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม เพื่อการใช้ทรัพยากรโทรคมนาคมอย่างคุ้มค่าสำหรับการให้บริการโทรคมนาคมต่อสาธารณะ

หลักการทางเทคนิค

ในทางปฏิบัติแล้วผู้ให้บริการจะต้องรับภาระในการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์โครงข่ายเพื่อให้การประยุกต์ระบบ MNP เกิดขึ้นได้ แต่จะต้องเปลี่ยนมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับแนวทางการประยุกต์เชิงเทคนิคที่สำคัญ ได้แก่ วิธีการจัดเส้นทางการเรียก (call routing) และฐานข้อมูลเลขหมาย (numbering database)

วิธีการจัดเส้นทางการเรียก

มีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ Call forwarding (CF) และ All call query (ACQ)

Call forwarding

Call forwarding หรือ CF มีข้อดีคือ การประยุกต์ทำได้ง่าย เนื่องจากโครงข่ายของผู้เรียกจะดำเนินการเชื่อมต่อการเรียกไปยังโครงข่ายปลายทางเดิมของผู้ถูกเรียกตามปกติ ซึ่งโครงข่ายปลายทางที่ผู้ถูกเรียกได้ขอย้ายออกไปแล้วนั้น เราจะเรียกว่า Donor Networkโครงข่ายนี้เองจะทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อไปยังโครงข่ายปลายทางใหม่ที่ผู้ถูกเรียกได้ขอย้ายเข้า ซึ่งเราจะเรียกว่า Recipient Network อย่างไรก็ดี วิธี CF นั้นมีข้อเสียหลายประการ อาทิ เช่น ไม่รองรับการ forward SMS/MMS ไม่สามารถแสดงเลขหมายโทรเข้า ส่วนปัญหาเชิงเทคนิค ได้แก่ การสิ้นเปลืองการใช้ช่องสัญญาณเนื่องมาจากการ forward call ระยะเวลาการต่อสัญญาณเรียกใช้เวลานาน เป็นต้น ในปัจจุบันประเทศที่ประยุกต์ใช้วิธี CF ต่างเปลี่ยนมาใช้วิธี ACQ แทน

All call query

All call query หรือ ACQ คือ โครงข่ายของผู้เรียกจะเป็นผู้ดำเนินการเชื่อมต่อไปยังโครงข่ายปลายทางปัจจุบันหรือ Recipient Network โดยไม่ต้องดำเนินการเชื่อมต่อสายกลับไปยังโครงข่ายปลายทางเดิมที่ผู้ถูกเรียกเคยใช้บริการอยู่ หรือ Donor Network โครงข่ายของผู้เรียกต้องมีการปรับฐานข้อมูลของเลขหมายที่มีการขอทำการพอร์ตเลขหมายให้สอดคล้องกับความเป็นจริง เพื่อที่จะสามารถเรียกไปยังโครงข่ายปลายทางที่ถูกต้องได้

วิธีการ ACQ นั้นจะมีการใช้ทรัพยากรโครงข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือโครงข่ายของผู้เรียกสามารถจัดเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดไปยังโครงข่ายปัจจุบันของผู้ถูกเรียกได้โดยตรงและสามารถแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นจากการใช้วิธี CF การประยุกต์ใช้ ACQ ต้องลงทุนสูงเนื่องจากต้องมีการลงทุนเพิ่มในส่วนของฐานข้อมูลเลขหมายและระบบจัดการที่เกี่ยวข้อง สำหรับประเทศไทยจะใช้วิธี ACQ

ฐานข้อมูลเลขหมาย

การจัดเก็บฐานข้อมูลเลขหมาย ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการจัดเก็บในสองรูปแบบ คือ แบบศูนย์กลาง (Centralized Database) และแบบกระจาย (Distributed Database)

แบบศูนย์กลางจะใช้ฐานข้อมูลอ้างอิงฐานข้อมูลเดียวที่มีเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งหมด หรือมีข้อมูลเลขหมายที่โอนย้ายทั้งหมด โดยอาจไม่จำเป็นต้องเก็บข้อมูลเลขหมายที่ไม่ได้โอนย้าย ซึ่งตามปกติแล้วข้อมูลอ้างอิงนี้จะมีการทำสำเนาให้กับฐานข้อมูลปฏิบัติการ (Operational Databases) ของโครงข่ายที่ร่วมโรงการเป็นหลักสำคัญฐานข้อมูลอ้างอิงแบบศูนย์กลางสำหรับการเปลี่ยนผู้ให้บริการโดยไม่เปลี่ยนเลขหมายมักดำเนินการโดยผู้ให้บริการโครงข่ายซึ่งอาจประกอบด้วยผู้ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือโครงข่ายทั้งหมดที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดสรรเส้นทาง ซึ่งการดำเนินการและการบำรุงรักษาฐานข้อมูลเลขหมายแบบศูนย์กลางอาจทำการคัดเลือกบริษัทอื่นๆที่มีประสบการณ์ในการดูแลฐานข้อมูล

สำหรับฐานข้อมูลแบบกระจายจะมีการเก็บฐานข้อมูลไว้หลายแห่งโดยแต่ละแห่งอาจมีเฉพาะข้อมูลเลขหมายของผู้ให้บริการโครงข่ายของตนเองแห่งเดียวเท่านั้น ข้อมูลทั้งหมดของเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งที่ไม่ได้โอนย้ายและทำการโอนย้ายแล้วจะได้จากการรวบรวมฐานข้อมูลจากแต่ละแห่ง

การขอโอนย้ายผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

ในการขอโอนย้ายผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผู้ใช้บริการต้องยื่นคำขอโอนย้ายการใช้บริการต่อผู้ให้บริการรายใหม่ ณ จุดที่ผู้ให้บริการรายใหม่กำหนด ผู้ให้บริการรายใหม่และผู้ให้บริการรายเดิมต้องร่วมกันตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นของผู้ใช้บริการที่ขอโอนย้ายเพื่อยืนยันความเป็นเจ้าของเลขหมาย ตรวจสอบยืนยันสถานภาพ และเงื่อนไขอื่น ๆ ที่ผูกพันกับเลขหมายดังกล่าวว่าถูกต้องตามแนวทางปฏิบัติการโอนย้ายได้ หากผู้ให้บริการรายใหม่ไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ตรวจสอบยืนยันสถานภาพ และเงื่อนไขอื่นใดกับผู้ให้บริการรายเดิม ผู้ให้บริการรายใหม่ต้องแจ้งเหตุผลและระยะเวลาที่คาดว่า จะแล้วเสร็จให้ผู้ใช้บริการทราบ และเมื่อดำเนินการโอนย้ายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ให้บริการรายใหม่มีหน้าที่แจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบว่าการขอโอนย้ายผู้ให้บริการสำเร็จแล้ว

การโอนย้ายผู้ให้บริการจะดำเนินการแล้วเสร็จภายใน 3 วันทำการนับตั้งแต่วันที่ยื่นขอ เว้นแต่มีเหตุจำเป็นอันควรเฉพาะกรณีเอกสารและหลักฐานข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ หรือ ไม่ตรงกับข้อมูลผู้ใช้บริการที่แท้จริงในระบบ โดยผู้ให้บริการรายเดิมมีหน้าที่ในการพิสูจน์เหตุจำเป็นอันควรดังกล่าว

อย่างไรก็ดี การนำระบบ MNP นั้นจะมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ระบบ อันได้แก่

1. ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบทั้งเชิงเทคนิคและการจัดการ เพื่อการประยุกต์ใช้ระบบ MNP

2. ค่าใช้จ่ายในการเพิ่มเติมความสามารถของระบบจัดเก็บค่าบริการ (Billing) การดูแลลูกค้า (Customer Care) และระบบการจัดการที่เกี่ยวข้องกับบริการโทรศัพท์

3. ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับ transaction ในการพอร์ตหมายเลข

4. ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและดำเนินงานระบบที่ detect และ re-route หมายเลขโทรศัพท์เมื่อมีการเปลี่ยนผู้ให้บริการ

5. ค่าใช้จ่ายที่ผู้ให้บริการต้องรับผิดชอบในส่วนของ bill settlement ที่เกี่ยวข้องกับ clearinghouse ของระบบ MNP

การใช้ MNP ในต่างประเทศ มีการเริ่มใช้งาน MNP ในปี 1997 โดยประเทศสิงคโปร์ได้เริ่มใช้เป็นประเทศแรก และอีกหลายๆประเทศทั่วโลก เช่น อังกฤษ อเมริกา ฝรั่งเศส และล่าสุดในปี 2007 ที่ประเทศมาเลเซีย


อ้างอิง

Telecom Journal
ผศ. ดร.สุภาวดี อร่ามวิทย์ และ ผศ. ดร.ชัยเชษฐ์ สายวิจิตร จาก วารสารช่างพูด ฉบับที่ 6/50 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
www.ntc.or.th สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ