ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวกเตอร์หนึ่งหน่วย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sl:Enotski vektor
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
ใน[[คณิตศาสตร์]] '''เวกเตอร์หนึ่งหน่วย''' (unit vector) คือ [[เวกเตอร์]]ที่มี[[นอร์ม|ความยาว]]เท่ากับ 1 เวกเตอร์หนึ่งหน่วยมักเขียนโดยใช้สัญลักษณ์ "หมวก" กำกับไว้บนตัวอักษร เช่น <math>\hat{i}</math>
ใน[[คณิตศาสตร์]] '''เวกเตอร์หนึ่งหน่วย''' ({{lang-en|unit vector}}) คือ [[เวกเตอร์]]ที่มี[[นอร์ม|ความยาว]]เท่ากับ 1 เวกเตอร์หนึ่งหน่วยมักเขียนโดยใช้สัญลักษณ์ "หมวก" กำกับไว้บนตัวอักษร เช่น <math>\hat{i}</math>


ใน[[ปริภูมิแบบยุคลิด]] [[ผลคูณจุด]]ของเวกเตอร์หนึ่งหน่วยสองเวกเตอร์มีค่าเท่ากับค่า[[โคไซน์]]ของมุมระหว่างเวกเตอร์ทั้งสอง
ใน[[ปริภูมิแบบยุคลิด]] [[ผลคูณจุด]]ของเวกเตอร์หนึ่งหน่วยสองเวกเตอร์มีค่าเท่ากับค่า[[โคไซน์]]ของมุมระหว่างเวกเตอร์ทั้งสอง
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
ในระบบพิกัดอื่นๆ เช่น [[พิกัดเชิงขั้ว]] หรือ[[พิกัดทรงกลม]] จะใช้เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่แตกต่างกันไป
ในระบบพิกัดอื่นๆ เช่น [[พิกัดเชิงขั้ว]] หรือ[[พิกัดทรงกลม]] จะใช้เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่แตกต่างกันไป


[[หมวดหมู่:พีชคณิตเชิงเส้น|วเวกเตอร์หนึ่งหน่วย]]
{{เรียงลำดับ|วเวกเตอร์หนึ่งหน่วย}}
[[หมวดหมู่:คณิตศาสตร์มูลฐาน|วเวกเตอร์หนึ่งหน่วย]]
[[หมวดหมู่:พีชคณิตเชิงเส้น]]
[[หมวดหมู่:หนึ่ง|วเวกเตอร์หนึ่งหน่วย]]
[[หมวดหมู่:คณิตศาสตร์มูลฐาน]]
[[หมวดหมู่:หนึ่ง]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[ar:متجه الوحدة]]
[[ar:متجه الوحدة]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:32, 25 พฤษภาคม 2552

ในคณิตศาสตร์ เวกเตอร์หนึ่งหน่วย (อังกฤษ: unit vector) คือ เวกเตอร์ที่มีความยาวเท่ากับ 1 เวกเตอร์หนึ่งหน่วยมักเขียนโดยใช้สัญลักษณ์ "หมวก" กำกับไว้บนตัวอักษร เช่น

ในปริภูมิแบบยุคลิด ผลคูณจุดของเวกเตอร์หนึ่งหน่วยสองเวกเตอร์มีค่าเท่ากับค่าโคไซน์ของมุมระหว่างเวกเตอร์ทั้งสอง

อนึ่ง เมื่อ เป็นเวกเตอร์ที่มีความยาวไม่เป็นศูนย์ใดๆ เรานิยามเวกเตอร์หนึ่งหน่วยของ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ว่าเป็นเวกเตอร์ที่มีทิศทางเดียวกับ และมีความยาวเท่ากับ 1 กล่าวคือ

เพื่อความสะดวก เรามักจะกำหนดให้สมาชิกของฐานหลักต่างๆ เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วย ในระบบพิกัดคาร์ทีเซียน 3 มิติ ฐานหลักที่นิยมใช้คือเวกเตอร์หนึ่งหน่วยสามเวกเตอร์ที่มีทิศทางตามแกน , , และ ซึ่งแทนด้วยสัญลักษณ์ , , และ ตามลำดับ กล่าวคือ

อย่างไรก็ดี สัญลักษณ์ , , และ เป็นที่นิยมใช้แทนเวกเตอร์หนึ่งหน่วยสามเวกเตอร์ข้างต้นมากกว่า

ในระบบพิกัดอื่นๆ เช่น พิกัดเชิงขั้ว หรือพิกัดทรงกลม จะใช้เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่แตกต่างกันไป