ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุดใกล้และไกลที่สุด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
[[en:Apsis]]
[[en:Apsis]]
[[eo:Apsido]]
[[eo:Apsido]]
[[es:Apoastro]]
[[es:Perihelio]]
[[fi:Apogeum]]
[[et:Apogee]]
[[fi:Periheli]]
[[fr:Périapside]]
[[fr:Périapside]]
[[he:אפסיד]]
[[he:אפהליון ופריהליון]]
[[hr:Periapsis]]
[[hr:Periapsis]]
[[hu:Apszispont]]
[[hu:Apszispont]]
[[it:Apside]]
[[it:Apside]]
[[ja:近点・遠点]]
[[ja:近点・遠点]]
[[ka:აპოცენტრი და პერიცენტრი]]
[[kk:Афелий]]
[[kk:Афелий]]
[[ko:장축단]]
[[ko:장축단]]
บรรทัด 41: บรรทัด 43:
[[lv:Apsīda]]
[[lv:Apsīda]]
[[nds:Apsis (Astronomie)]]
[[nds:Apsis (Astronomie)]]
[[nl:Perihelium]]
[[nn:Perihel]]
[[nn:Perihel]]
[[no:Apsis (astronomi)]]
[[no:Apsis (astronomi)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:15, 6 กุมภาพันธ์ 2552

จุดปลายระยะทางวงโคจร
จุดปลายระยะทางวงโคจร

ในทางดาราศาสตร์ จุดปลายระยะทางวงโคจร (อังกฤษ: apsis) หมายถึง จุดในวงโคจรของวัตถุที่อยู่ใกล้ที่สุดหรือไกลที่สุดจากจุดศูนย์กลางมวลที่มันโคจรรอบ

จุดที่เคลื่อนเข้าไปใกล้จุดศูนย์กลางมวลมากที่สุด เรียกว่า จุดใกล้ที่สุด (periapsis หรือ pericentre) จุดที่เคลื่อนออกไปไกลที่สุดเรียกว่า จุดไกลที่สุด (apoapsis, apocentre หรือ apapsis) เส้นตรงที่ลากจากจุดใกล้ที่สุดไปยังจุดไกลที่สุด เรียกว่า line of apsides ซึ่งก็คือแกนเอกของวงรี หรือเส้นที่ยาวที่สุดภายในวงรีนั่นเอง

นอกจากนี้มีคำศัพท์เฉพาะอื่นๆ ที่ใช้เรียกจุดใกล้ที่สุดหรือจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบเทหวัตถุบางชนิด จุดใกล้ที่สุดและจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบโลก เรียกว่า perigee และ apogee ตามลำดับ จุดใกล้ที่สุดและจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ เรียกว่า perihelion และ aphelion ตามลำดับ

แหล่งข้อมูลอื่น