ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เยาวเรศ ชินวัตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Dwilawan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''นางเยาวเรศ ชินวัตร''' (เกิด [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2495]]) ประธาน[[สภาสตรีแห่งชาติ]] ในพระบรมราชินูปถัมภ์ คนที่ 20
'''นางเยาวเรศ ชินวัตร''' (เกิด [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2495]]) ประธาน[[สภาสตรีแห่งชาติ]] ในพระบรมราชินูปถัมภ์ คนที่ 20


นางเยาวเรศ เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวน 9 คน ของ นายเลิศ และนางยินดี ชินวัตร เป็นบุตรสาวคนที่ 2 จบชั้นมัธยมศึกษา จาก[[โรงเรียนดาราวิทยาลัย]] และสายพาณิชยการ จาก[[วิทยาลัยเกริก]] จากนั้นได้ไปศึกษาต่อด้านการบริหาร ที่[[ประเทศอังกฤษ]] จนจบอนุปริญญา
นางเยาวเรศ เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวน 9 คน ของ นายเลิศ และนางยินดี ชินวัตร เป็นบุตรสาวคนที่ 2 จบชั้นมัธยมศึกษา จาก[[โรงเรียนดาราวิทยาลัย]] และสายพาณิชยการ จาก[[วิทยาลัยเกริก]] จากนั้นได้ไปศึกษาต่อด้านการบริหาร ที่[[ประเทศอังกฤษ]] จนจบอนุปริญญา ได้ศึกษาต่อด้านบริหารธุรกิจ ที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนจบ แต่ถูกมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชถอนปริญญาบัตร เนื่องจากใช้วุฒิการศึกษามัธยมศึกษาปลอมเมื่อครั้งสมัครเข้าเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช


นางเยาวเรศ เริ่มต้นทำงาน ด้วยการเป็นเลขานุการ ต่อมาได้ทำงานเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน (แอร์โฮสเตส) สายการบินแอร์สยาม จากนั้นก็ลาออกมาทำธุรกิจโรงภาพยนตร์ของครอบครัว และได้เริ่มทำธุรกิจส่วนตัว เปิดร้านขายสินค้าชุมชน และงานศิลปะ ในเวลาต่อมา
นางเยาวเรศ เริ่มต้นทำงาน ด้วยการเป็นเลขานุการ ต่อมาได้ทำงานเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน (แอร์โฮสเตส) สายการบินแอร์สยาม จากนั้นก็ลาออกมาทำธุรกิจโรงภาพยนตร์ของครอบครัว และได้เริ่มทำธุรกิจส่วนตัว เปิดร้านขายสินค้าชุมชน และงานศิลปะ ในเวลาต่อมา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:37, 4 ธันวาคม 2551

นางเยาวเรศ ชินวัตร (เกิด 30 มกราคม พ.ศ. 2495) ประธานสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ คนที่ 20

นางเยาวเรศ เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวน 9 คน ของ นายเลิศ และนางยินดี ชินวัตร เป็นบุตรสาวคนที่ 2 จบชั้นมัธยมศึกษา จากโรงเรียนดาราวิทยาลัย และสายพาณิชยการ จากวิทยาลัยเกริก จากนั้นได้ไปศึกษาต่อด้านการบริหาร ที่ประเทศอังกฤษ จนจบอนุปริญญา ได้ศึกษาต่อด้านบริหารธุรกิจ ที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนจบ แต่ถูกมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชถอนปริญญาบัตร เนื่องจากใช้วุฒิการศึกษามัธยมศึกษาปลอมเมื่อครั้งสมัครเข้าเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

นางเยาวเรศ เริ่มต้นทำงาน ด้วยการเป็นเลขานุการ ต่อมาได้ทำงานเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน (แอร์โฮสเตส) สายการบินแอร์สยาม จากนั้นก็ลาออกมาทำธุรกิจโรงภาพยนตร์ของครอบครัว และได้เริ่มทำธุรกิจส่วนตัว เปิดร้านขายสินค้าชุมชน และงานศิลปะ ในเวลาต่อมา

นางเยาวเรศ สมรสกับ วีรชัย วงศ์นภาจันทร์ นักธุรกิจไทยเชื้อสายจีน ปัจจุบันแยกทางกันแล้ว มีบุตร 3 คน ใช้นามสกุลของบิดา คือ นางสาวชยิกา นายรัตนะ และ นายธนวัต วงศ์นภาจันทร์

แหล่งข้อมูลอื่น