ข้ามไปเนื้อหา

ประธานาธิบดีนาอูรู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประธานาธิบดีนาอูรู (นาอูรู: Pretiden Naoero) เป็นตำแหน่งที่ได้รับเลือกตั้งจากสมาชิกรัฐสภานาอูรู โดยเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลของนาอูรู[1] มีระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 3 ปี[2] พรรคการเมืองมีบทบาทเพียงเล็กน้อยในการเมืองนาอูรู และช่วงเวลาแห่งความไม่แน่นอนในตำแหน่งประธานาธิบดีมักเกิดขึ้นบ่อยครั้ง การเปลี่ยนแปลงความเป็นพันธมิตรระหว่างกลุ่มบุคคลจำนวนน้อยสามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในการจัดตั้งรัฐบาล รวมถึงตำแหน่งประธานาธิบดีด้วยเช่นกัน[3]

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐนาอูรู
Pretiden Naoero (นาอูรู)
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
David Adeang
ตั้งแต่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 2023
ฝ่ายบริหารของรัฐบาลนาอูรู
คณะรัฐมนตรีนาอูรู
การเรียกขานฯพณฯ
จวนทําเนียบรัฐบาล, เขตอาเนตัน
ผู้แต่งตั้งรัฐสภา
วาระ3 ปี
ต่ออายุได้, เสียงส่วนใหญ่ของสมาชิกรัฐสภาสามารถถอดถอนประธานาธิบดีได้
ผู้ประเดิมตำแหน่งแฮมเมอร์ เดโรบูร์ต
17 พฤษภาคม ค.ศ. 1968[4]
สถาปนารัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐนาอูรู
รองรัฐมนตรีช่วยประธานาธิบดี
เงินตอบแทน100,032 ดอลลาร์ออสเตรเลีย หรือ 67,135 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี[5]
เว็บไซต์naurugov.nr

รายชื่อ

[แก้]

นาอูรูมีประธานาธิบดีทั้งสิ้น 33 ลำดับตั้งแต่วาระของแฮมเมอร์ เดโรบูร์ตในปี 1968 จนถึงวาระของDavid Adeangในปัจจุบัน โดยมีรายชื่อดังต่อไปนี้

ลำดับ รูปภาพ ชื่อ
(เกิด-เสียชีวิต)
การเลือกตั้ง การดำรงตำแหน่ง สังกัด
เริ่ม สิ้นสุด ระยะเวลา
1 แฮมเมอร์ เดโรบูร์ต
(1922–1992)
1968
1973
17 พฤษภาคม ค.ศ. 1968 22 ธันวาคม ค.ศ. 1976 8 ปี 219 วัน อิสระ
2 เบอร์นาร์ด โดวิโยโก
(1946–2003)
1976
1977
22 ธันวาคม ค.ศ. 1976 19 ธันวาคม ค.ศ. 1978 1 ปี 362 วัน พรรคนาอูรู
3 ลากูมอต แฮร์ริส
(1938–1999)
19 ธันวาคม ค.ศ. 1978 23 ธันวาคม ค.ศ. 1978 0 ปี 4 วัน อิสระ
4
(1)
แฮมเมอร์ เดโรบูร์ต
(1922–1992)
1980
1983
23 ธันวาคม ค.ศ. 1978 17 กันยายน ค.ศ. 1986 7 ปี 268 วัน อิสระ
5 เคนนัน อาแดง
(1942–2011)
17 กันยายน ค.ศ. 1986 1 ตุลาคม ค.ศ. 1986 0 ปี 14 วัน พรรคนาอูรู
6
(1)
แฮมเมอร์ เดโรบูร์ต
(1922–1992)
1 ตุลาคม ค.ศ. 1986 12 ธันวาคม ค.ศ. 1986 0 ปี 72 วัน อิสระ
7
(5)
เคนนัน อาแดง
(1942–2011)
12 ธันวาคม ค.ศ. 1986 22 ธันวาคม ค.ศ. 1986 0 ปี 10 วัน พรรคนาอูรู
8
(1)
แฮมเมอร์ เดโรบูร์ต
(1922–1992)
1986
1987
22 ธันวาคม ค.ศ. 1986 17 สิงหาคม ค.ศ. 1989 2 ปี 238 วัน อิสระ
9 Kenas Aroi
(1942–1991)
17 สิงหาคม ค.ศ. 1989 12 ธันวาคม ค.ศ. 1989 0 ปี 117 วัน อิสระ
10
(2)
เบอร์นาร์ด โดวิโยโก
(1946–2003)
1989
1992
12 ธันวาคม ค.ศ. 1989 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 5 ปี 345 วัน Democratic Party
11
(3)
ลากูมอต แฮร์ริส
(1938–1999)
1995 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 0 ปี 355 วัน อิสระ
12
(2)
เบอร์นาร์ด โดวิโยโก
(1946–2003)
11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 0 ปี 15 วัน Democratic Party
13
(5)
เคนนัน อาแดง
(1942–2011)
26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 19 ธันวาคม ค.ศ. 1996 0 ปี 23 วัน Democratic Party
14 Ruben Kun
(1942–2014)
19 ธันวาคม ค.ศ. 1996 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997 0 ปี 56 วัน อิสระ
15 Kinza Clodumar
(1945–2021)
1997 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997 18 มิถุนายน ค.ศ. 1998 1 ปี 125 วัน Centre Party
16
(2)
เบอร์นาร์ด โดวิโยโก
(1946–2003)
18 มิถุนายน ค.ศ. 1998 27 เมษายน ค.ศ. 1999 0 ปี 313 วัน Democratic Party
17 René Harris
(1947–2008)
27 เมษายน ค.ศ. 1999 20 เมษายน ค.ศ. 2000 0 ปี 359 วัน อิสระ
18
(2)
เบอร์นาร์ด โดวิโยโก
(1946–2003)
2000 20 เมษายน ค.ศ. 2000 30 มีนาคม ค.ศ. 2001 0 ปี 344 วัน Democratic Party
19
(17)
René Harris
(1947–2008)
30 มีนาคม ค.ศ. 2001 9 มกราคม ค.ศ. 2003 1 ปี 285 วัน อิสระ
20
(2)
เบอร์นาร์ด โดวิโยโก
(1946–2003)
9 มกราคม ค.ศ. 2003 17 มกราคม ค.ศ. 2003 0 ปี 8 วัน Democratic Party
21
(17)
René Harris
(1947–2008)
17 มกราคม ค.ศ. 2003 18 มกราคม ค.ศ. 2003 0 ปี 1 วัน อิสระ
22
(2)
เบอร์นาร์ด โดวิโยโก
(1946–2003)
18 มกราคม ค.ศ. 2003 9 มีนาคม ค.ศ. 2003 0 ปี 50 วัน Democratic Party
23 Derog Gioura
(1932–2008)
10 มีนาคม ค.ศ. 2003 29 พฤษภาคม ค.ศ. 2003 0 ปี 80 วัน อิสระ
24 Ludwig Scotty
(เกิด ค.ศ. 1948)
2003 29 พฤษภาคม ค.ศ. 2003 8 สิงหาคม ค.ศ. 2003 0 ปี 71 วัน อิสระ
25
(17)
René Harris
(1947–2008)
8 สิงหาคม ค.ศ. 2003 22 มิถุนายน ค.ศ. 2004[6] 0 ปี 319 วัน อิสระ
26
(24)
Ludwig Scotty
(เกิด ค.ศ. 1948)
2004 22 มิถุนายน ค.ศ. 2004 19 ธันวาคม ค.ศ. 2007 3 ปี 180 วัน อิสระ
27 มาร์คัส สตีเฟน
(เกิด ค.ศ. 1969)
2007
2008
2010 (เมษายน)
2010 (มิถุนายน)
19 ธันวาคม ค.ศ. 2007 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011 3 ปี 326 วัน อิสระ
28 เฟรดดี พิตเชอร์
(เกิด ค.ศ. 1967)
10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011 0 ปี 5 วัน อิสระ
29 สเปรนต์ ดับวีโด
(1972–2019)
15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011 11 มิถุนายน ค.ศ. 2013 1 ปี 208 วัน อิสระ
30 แบรอน วาคา
(เกิด ค.ศ. 1959)
2013
2016
11 มิถุนายน ค.ศ. 2013[7] 27 สิงหาคม ค.ศ. 2019 6 ปี 77 วัน อิสระ
31 ลีโอเนล ไองิมา
(เกิด ค.ศ. 1965)
2019 27 สิงหาคม ค.ศ. 2019 29 กันยายน ค.ศ. 2022 3 ปี 33 วัน อิสระ
32 รัซ คุน
(เกิด ค.ศ. 1975)
2022 29 กันยายน ค.ศ. 2022 30 ตุลาคม ค.ศ. 2023 1 ปี 31 วัน อิสระ
33 David Adeang
(เกิด ค.ศ. 1969)
30 ตุลาคม ค.ศ. 2023 อยู่ในวาระ 1 ปี 65 วัน อิสระ

อ้างอิง

[แก้]
  1. Article III (12-13), Constitution of Nauru, 29 January 1968
  2. "How was Parliament established?". The Government of the Republic of Nauru. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-08-30.
  3. "Who comprises Parliament?". The Government of the Republic of Nauru. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-08-30.
  4. "Nauru Government Gazette ฉบับที่ 15 (20 พฤษภาคม ค.ศ. 1968)". paclii. สืบค้นเมื่อ 29 September 2022.
  5. "Parliamentary Salaries and Allowances (Amendment) Act 2016". Parliament of Nauru. 16 June 2018.
  6. "Nauru's Govt toppled". ABC News (ภาษาอังกฤษแบบออสเตรเลีย). 22 June 2004.
  7. "Waqa elected Nauru president". RNZ International. 11 June 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-02.