ซิลิคอนคาร์ไบด์
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
Preferred IUPAC name
Silicon carbide | |
ชื่ออื่น
Carborundum
Moissanite | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.006.357 |
EC Number |
|
13642 | |
MeSH | Silicon+carbide |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
CSi | |
มวลโมเลกุล | 40.096 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | ผลึกสีเหลือง เขียวถึงดำน้ำเงิน[1] |
ความหนาแน่น | 3.16 g·cm−3 (hex.)[2] |
จุดหลอมเหลว | 2,830 องศาเซลเซียส (5,130 องศาฟาเรนไฮต์; 3,100 เคลวิน) (decomposes) |
−12.8·10−6 cm3/mol[3] | |
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
2.55 (infrared; all polytypes)[4] |
ความอันตราย | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
NIOSH (US health exposure limits): | |
PEL (Permissible)
|
TWA 15 mg/m3 (total) TWA 5 mg/m3 (resp)[1] |
REL (Recommended)
|
TWA 10 mg/m3 (total) TWA 5 mg/m3 (resp)[1] |
IDLH (Immediate danger)
|
N.D.[1] |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ซิลิคอนคาร์ไบด์ (อังกฤษ: silicon carbide) หรือ คาร์บอรันดัม (carborundum) เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมีคือ SiC ในรูปบริสุทธิ์ไม่มีสี แต่มีสีเขียวถึงดำจากการปนเปื้อนธาตุเหล็ก[5] ซิลิคอนคาร์ไบด์มีรูปแบบผลึกกว่า 250 แบบ[6] แต่พบมากที่สุดในรูปแอลฟา (α-SiC) ซึ่งมีโครงสร้างผลึกแบบหกเหลี่ยม ก่อตัวที่อุณหภูมิสูงกว่า 1700 °C และรูปบีตา (β-SiC) ซึ่งเป็นโครงสร้างแบบซิงก์เบลนด์ ก่อตัวที่อุณหภูมิต่ำกว่า 1700 °C[7][8] ในธรรมชาติพบในแร่มอยซาไนต์ แต่สามารถสังเคราะห์ได้จากกระบวนการอะคีสัน
ซิลิคอนคาร์ไบด์มีคุณสมบัตินำความร้อนและทนอุณหภูมิสูง มีความแข็งตามมาตราโมสที่ 9–9.5 จึงนิยมใช้เป็นสารกึ่งตัวนำ, วัสดุขัดถู, วัสดุทนความร้อนสูงและการกระแทก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 "Silicon carbide - NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards". Centers for Disease Control and Prevention. สืบค้นเมื่อ May 1, 2018.
- ↑ Haynes, William M., บ.ก. (2014–2015). CRC Handbook of Chemistry and Physics (PDF) (95th ed.). CRC Press. p. 4-88. ISBN 978-1-4822-0868-9.
- ↑ Haynes, William M., บ.ก. (2014–2015). CRC Handbook of Chemistry and Physics (PDF) (95th ed.). CRC Press. p. 4-135. ISBN 978-1-4822-0868-9.
- ↑ "Properties of Silicon Carbide (SiC)". Ioffe Institute. สืบค้นเมื่อ 2009-06-06.
- ↑ "Silicon carbide - MSDS" (PDF). Burwell Technologies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-04-02. สืบค้นเมื่อ May 1, 2018.
- ↑ Cheung, Rebecca (2006). Silicon carbide microelectromechanical systems for harsh environments. Imperial College Press. p. 3. ISBN 1-86094-624-0.
- ↑ "Silicon carbide" (PDF). IARC Monographs. สืบค้นเมื่อ May 1, 2018.
- ↑ Chyad, Fadhil A.; Agoal, Ibrahim R.; Mutter, Mahdi M. (2012). "Effect of Addition SiC Particles on the Hardness and Dry Sliding Wear of the Copper-Graphite Composite". The Iraqi Journal For Mechanical And Material Engineering. 12 (2): 298–304. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-29. สืบค้นเมื่อ May 1, 2018.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ซิลิคอนคาร์ไบด์
- "Silicon Carbide - MSDS". ScienceLab. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-29. สืบค้นเมื่อ 2018-05-01.