กาฬโรคต่อมน้ำเหลือง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กาฬโรคต่อมน้ำเหลือง
(Bubonic plague)
A bubo on the upper thigh of a person infected with bubonic plague.
สาขาวิชาInfectious disease
อาการFever, headaches, vomiting, swollen lymph nodes[1][2]
การตั้งต้น1–7 days after exposure[1]
สาเหตุYersinia pestis spread by fleas[1]
วิธีวินิจฉัยFinding the bacteria in the blood, sputum, or lymph nodes[1]
การรักษาAntibiotics such as streptomycin, gentamicin, or doxycycline[3][4]
ความชุก650 cases reported a year[1]
การเสียชีวิต10% mortality with treatment[3]

กาฬโรคต่อมน้ำเหลือง (อังกฤษ: bubonic plague) เป็นชนิดย่อยชนิดหนึ่งของกาฬโรคซึ่งเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Yersinia pestis ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการคล้ายเป็นไข้หวัดใหญ่เมื่อเวลาผ่านไป 1-7 วันหลังได้รับเชื้อ โดยจะมีไข้ ปวดศีรษะ และอาเจียน ต่อมน้ำเหลืองในบริเวณใกล้เคียงกับจุดที่รับเชื้อโรคผ่านผิวหนังจะบวมโตและมีอาการเจ็บ บางครั้งต่อมน้ำเหลืองเหล่านี้อาจแตกออกเป็นแผลได้

สาเหตุ[แก้]

กาฬโรคต่อมน้ำเหลืองเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Yersinia pestis โดยมีตัวหมัดหนูเมืองร้อน (Xenopsylla chopis) เป็นพาหะ เฉพาะกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการลุกลามจนกลายเป็นกาฬโรคในกระแสเลือด (septicemic plague) เท่านั้น จึงจะสามารถติดต่อกันผ่านการสัมผัสเนื้อเยื่อที่ติดเชื้อหรือการไอได้

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ WHO2014
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ CDC2012Sym
  3. 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Lancet2007
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ CDC2012Tx

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก