การเลือกตั้งประธานาธิบดีเบลารุส พ.ศ. 2563
| |||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 84.17%[1] | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งประธานาธิบดีแห่งประเทศเบลารุสมีขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 9 สิงหาคม 2020 มีการลงคะแนนเสียงล่วงหน้าตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคมไปจนถึง 8 สิงหาคม[2]
ประธานาธิบดีเบลารุสจะได้รับการเลือกตั้งโดยตรงเพื่อดำรงตำแหน่งเป็นเวลาห้าปี อาเลียกซันดร์ ลูกาแชนกา ประธานาธิบดีคนปัจจุบันได้รับการเลือกตั้งใหม่อีกครั้งเป็นวาระที่หก (ด้วยคะแนนเสียงสูงกว่า 80% ในทุกการเลือกตั้งที่ผ่านมาตามที่ระบุในผลอย่างเป็นทางการของรัฐบาล) ด้วยเขาชนะทุกการเลือกตั้งตลอดนับตั้งแต่ปี 1994[3] โดยที่ทุกการเลือกตั้งดังกล่าวนั้นถูกตีตราในระดับนานาชาติว่าเป็นการเลือกตั้งที่ทั้งไม่เป็นไปอย่างอิสระและยุติธรรม ยกเว้นเพียงการเลือกตั้งครั้งแรกครั้งเดียว[4] ในการเลือกตั้งครั้งนี้ก็ถูกตีตราว่าไม่เป็นไปอย่างประชาธิปไตยเช่นกัน[5] ผู้สมัครฝ่ายตรงข้าม สเวียตลานา ซีฮานอว์สกายา ประกาศตนว่าเธอเป็นผู้ชนะในการเลือกตั้งนี้ และเรียกร้องให้ลูกาแชนกาออกมาเจรจากับเธอ การพ่ายแพ้ของเธอนี้ยิ่งตอกย้ำ "การประท้วงในประเทศระยะยาว" ให้หนักขึ้นกว่าเดิม[6]
ผู้เข้าสมัครเลือกตั้งทั้งหมด ยกเว้นเพียงลูกาแชนกา ได้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมาธิการเลือกตั้งกลางเบลารุส (CEC) เรียกร้องให้การเลือกตั้งนี้เป็นโมฆะ[7]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Явка избирателей". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-01. สืบค้นเมื่อ 9 August 2020.
- ↑ "Belarus Authorities Cancel Opposition Campaigning Ahead Of Election". RadioFreeEurope/RadioLiberty (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 5 August 2020.
- ↑ "As Belarus Elects New Parliament, Lukashenka Says He Will Seek Another Presidential Term". RadioFreeEurope/RadioLiberty (ภาษาอังกฤษ). 17 November 2019. สืบค้นเมื่อ 5 February 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:2
- ↑ Jones, Mark P. (2018). "Presidential and Legislative Elections". The Oxford Handbook of Electoral Systems (ภาษาอังกฤษ). doi:10.1093/oxfordhb/9780190258658.001.0001/oxfordhb-9780190258658-e-23. สืบค้นเมื่อ 2020-05-21.
unanimous agreement among serious scholars that... Lukashenko's 2015 election occurred within an authoritarian context.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Тихановская объявила себя победителем президентских выборов и предложила переговоры Лукашенко". meduza.io. สืบค้นเมื่อ 2020-08-10.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Все кандидаты в президенты Беларуси, кроме Лукашенко, оспорили результаты выборов". meduza.io. สืบค้นเมื่อ 2020-08-12.