การศึกษาในประเทศกาตาร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การศึกษาในกาตาร์
สภาการศึกษาสูงสุด
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมูฮัมเหม็ด บิน อับดุล วาเฮ็ด อัล-เฮ็มมาดิ[1]
งบประมาณทางการศึกษา (ค.ศ. 2012)
งบประมาณQR20.6bn [2]
ข้อมูลทั่วไป
ภาษาที่ใช้ภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ
การรู้หนังสือ (ค.ศ. 2015)
ทั้งหมด96.6%[3]
ผู้ชาย96.7%
ผู้หญิง96.2%
การลงทะเบียนเรียน
ทั้งหมด280,041 คน[4]
ประถมศึกษา68,255 คน
มัธยมศึกษา65,182 คน
อุดมศึกษา146,604 คน

การศึกษาในประเทศกาตาร์ ถูกควบคุมโดยสภาการศึกษาสูงสุดแห่งกาตาร์ หรือ เอสอีซี และกระทรวงศึกษาธิการแห่งกาตาร์ หรือ เอ็มโออี สภาการศึกษาสูงสุดแห่งกาตาร์มีหน้าที่ดูแลรับผิดชองโรงเรียนเอกชน ส่วนกระทรวงศึกษาธิการแห่งกาตาร์มีหน้าที่สนับสนุนโรงเรียนเอกชน[5] มีโรงเรียนเกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศเมื่อปี ค.ศ. 1956[6] การศึกษาขั้นประถมศึกษาในประเทศซึ่งถือว่าสำคัญสำหรับเด็กภายในประเทศ และอาจเรียนฟรีในโรงเรียนสาธารณะ[6]

การศึกษาในประเทศกาตาร์ถือว่ามีความหลากหลายทางการศึกษา มีหลายโรงเรียนที่มีระบบหลักสูตรการเรียนนานาชาติ[7] มีโรงเรียนนานาชาติภายในประเทศทั้งหมด 338 แห่ง[5] มีมหาวิทยาลัยที่สำคัญของโลกที่เป็นสาขาย่อยโดยตั้งอยู่ในภายในประเทศ ภายในเมืองการศึกษา และอยู่แถวชานเมืองเมืองโดฮา[8]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Education Minister Issues Ministerial Decision for Services Provided by SEC". Supreme Education Council. 6 July 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-02. สืบค้นเมื่อ 20 July 2015.
  2. "Qatar's 2017 budget entails QR198.4bn expenditure". Gulf Times. 15 December 2016. สืบค้นเมื่อ 7 August 2017.
  3. "Adult and youth literacy: National, regional and global trends, 1985-2015" (PDF). UNESCO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-02. สืบค้นเมื่อ 20 July 2015.
  4. "Qatar Education and Literacy". UNESCO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 June 2021. สืบค้นเมื่อ 20 August 2021.
  5. 5.0 5.1 "Education". Ministry of Foreign Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 สิงหาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2015.
  6. 6.0 6.1 "World Data on Education - Qatar" (PDF). UNESCO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-04. สืบค้นเมื่อ 21 July 2015.
  7. "Qatari schools". Supreme Education Council. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 20 July 2015.
  8. Simeon Kerr (20 October 2013). "Doha's Education City is a boost for locals". Financial Times. สืบค้นเมื่อ 17 July 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

เว็บไซต์โรงเรียนและมหาวิทยาลัยบางแห่งภายในประเทศ[แก้]