วิกฤตการณ์เฮติ พ.ศ. 2561–2566
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก การประท้วงในเฮติ พ.ศ. 2562–2565)
เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ (มีนาคม ค.ศ. 2022) |
วิกฤตการณ์เฮติ พ.ศ. 2561–2566 | |||
---|---|---|---|
ธงที่ใช้ในการประท้วง | |||
วันที่ | 7 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 – ปัจจุบัน | ||
สถานที่ | ประเทศเฮติ | ||
สาเหตุ |
พ.ศ. 2564
| ||
เป้าหมาย |
| ||
ผล |
| ||
คู่ขัดแย้ง | |||
| |||
ผู้นำ | |||
จำนวน | |||
| |||
ความเสียหาย | |||
เสียชีวิต | ผู้ประท้วง 187 คน เจ้าหน้าที่ตำรวจ 44 นาย นักข่าว 2 คน[2] |
เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 เริ่มมีการประท้วงขึ้นในเมืองทั่วประเทศเฮติ เพื่อตอบโต้การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมัน หลังจากนั้น การประท้วงที่นำโดยJean-Charles Moïse (ไม่มีความสัมพันธ์) นักการเมืองฝ่ายค้าน เริ่มเรียกร้องให้ฌอเวอแนล มออีซ อดีตประธานาธิบดีเฮติ ลาออก ฝ่ายผู้ประท้วงกล่าวว่าเป้าหมายของตนคือสร้างรัฐบาลเฉพาะกาล, จัดตั้งโปรแกรมสังคม และดำเนินคดีต่อเจ้าหน้าที่ที่ถูกกล่าวหาว่าทุจริต นับตั้งแต่การประท้วงในวันที่ 14 มกราคม มีผู้เข้าประท้วงรายสัปดาห์เรียกร้องให้รัฐบาลลาออกร้อยถึงพันคน[3][4][5][6][7]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Deadly protests hit Haiti capital". BBC News. 11 February 2019. สืบค้นเมื่อ 13 February 2019.
- ↑ Charles, Jacqueline; Daugherty, Alex (10 December 2019). "Congress holds first hearing on Haiti in 20 years amid political". Miami Herald.
- ↑ "Haiti: Thousands protest against corruption". Deutsche Welle. 8 February 2019. สืบค้นเมื่อ 13 February 2019.
- ↑ Lemaire, Sandra; Vilme, Matiado (12 February 2019). "Angry Haitians Demand Regime Change". Voice of America. สืบค้นเมื่อ 13 February 2019.
- ↑ "Haiti's Protests: Images Reflect Latest Power Struggle". Council of Foreign Relations. March 3, 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-25. สืบค้นเมื่อ 2022-05-21.
- ↑ "Dispute over Haiti presidential term triggers unrest". BBC News. 15 February 2021. สืบค้นเมื่อ 31 July 2021.
- ↑ "Haiti protests continue despite police crackdown". Africanews. 9 February 2021. สืบค้นเมื่อ 10 February 2021.