กัวนีน
หน้าตา
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Preferred IUPAC name
2-Amino-1,9-dihydro-6H-purin-6-one | |||
ชื่ออื่น
2-amino-6-hydroxypurine,
2-aminohypoxanthine, Guanine | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
| ||
147911 | |||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ดรักแบงก์ | |||
ECHA InfoCard | 100.000.727 | ||
EC Number |
| ||
431879 | |||
KEGG | |||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
C5H5N5O | |||
มวลโมเลกุล | 151.13 ก./โมล | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ของแข็งไร้สัณฐานสีขาว | ||
ความหนาแน่น | 2.200 ก./ซม3 (คำนวณ) | ||
จุดหลอมเหลว | 360 องศาเซลเซียส (680 องศาฟาเรนไฮต์; 633 เคลวิน) สลายตัว | ||
จุดเดือด | ระเหิด | ||
ไม่ละลาย | |||
pKa | 3.3 (amide), 9.2 (secondary), 12.3 (primary)[1] | ||
ความอันตราย | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก
|
สารระคาย | ||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | ไม่ไหม้ไฟ | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
Cytosine, Adenine, ไทมีน, Uracil | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
กัวนีน หรือ กวานีน (อังกฤษ: guanine มีสัญลักษณ์ G หรือ Gua) เป็นหนึ่งในนิวคลีโอเบสหลัก 4 ชนิด ที่พบในกรดนิวคลีอิกคือดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอ ส่วนนิวคลีโอเบสอีก 3 อย่างอื่นก็คือ adenine, cytosine และไทมีน (จะเป็น uracil ในอาร์เอ็นเอ) ภายในดีเอ็นเอ กัวนีนจะจับคู่กับ cytosine นิวคลีโอไซด์ที่มีกัวนีนเป็นองค์ประกอบเรียกว่า กัวโนซีน (guanosine)
กัวนีนมีสูตรเคมี C5H5N5O ดังนั้น จึงเป็นสารอนุพัทธ์ของพิวรีน ประกอบด้วยวงแหวน pyrimidine-อิมิดาโซล และมีพันธะคู่แบบคอนจูเกต (conjugated double bond) ความไม่อิ่มตัวของโครงสร้างจึงทำให้มีแนวระนาบ
เชิงอรรถและอ้างอิง
[แก้]- ↑ Dawson, R.M.C., et al., Data for Biochemical Research, Oxford, Clarendon Press, 1959.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ กัวนีน
- Guanine MS Spectrum
- Guanine at chemicalland21.com