กัวนีน
กัวนีน | |
---|---|
![]() | |
2-Amino-1,9-dihydro-6H-purin-6-one | |
ชื่ออื่น | 2-amino-6-hydroxypurine, 2-aminohypoxanthine, Guanine |
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [73-40-5][CAS] |
PubChem | |
DrugBank | DB02377 |
KEGG | |
ChEBI | |
RTECS number | MF8260000 |
SMILES | |
InChI | |
Beilstein Reference | 147911 |
Gmelin Reference | 431879 |
ChemSpider ID | |
คุณสมบัติ | |
สูตรเคมี | C5H5N5O |
มวลต่อหนึ่งโมล | 151.13 ก./โมล |
ลักษณะทางกายภาพ | ของแข็งไร้สัณฐานสีขาว |
ความหนาแน่น | 2.200 ก./ซม3 (คำนวณ) |
จุดหลอมเหลว |
360 °C, 633 K, 680 °F |
จุดเดือด | |
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ | ไม่ละลาย |
pKa | 3.3 (amide), 9.2 (secondary), 12.3 (primary)[1] |
ความอันตราย | |
อันตรายหลัก | สารระคาย |
NFPA 704 | |
จุดวาบไฟ | ไม่ไหม้ไฟ |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง | Cytosine, Adenine, ไทมีน, Uracil |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
กัวนีน หรือ กวานีน (อังกฤษ: guanine มีสัญลักษณ์ G หรือ Gua) เป็นหนึ่งในนิวคลีโอเบสหลัก 4 ชนิด ที่พบในกรดนิวคลีอิกคือดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอ ส่วนนิวคลีโอเบสอีก 3 อย่างอื่นก็คือ adenine, cytosine และไทมีน (จะเป็น uracil ในอาร์เอ็นเอ) ภายในดีเอ็นเอ กัวนีนจะจับคู่กับ cytosine นิวคลีโอไซด์ที่มีกัวนีนเป็นองค์ประกอบเรียกว่า กัวโนซีน (guanosine)
กัวนีนมีสูตรเคมี C5H5N5O ดังนั้น จึงเป็นสารอนุพัทธ์ของพิวรีน ประกอบด้วยวงแหวน pyrimidine-อิมิดาโซล และมีพันธะคู่แบบคอนจูเกต (conjugated double bond) ความไม่อิ่มตัวของโครงสร้างจึงทำให้มีแนวระนาบ
เชิงอรรถและอ้างอิง[แก้]
- ↑ Dawson, R.M.C., et al., Data for Biochemical Research, Oxford, Clarendon Press, 1959.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: กัวนีน |
- Guanine MS Spectrum
- Guanine at chemicalland21.com
![]() |
บทความเกี่ยวกับชีวเคมี เคมีอินทรีย์ และโมเลกุลชีวภาพนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |