ข้ามไปเนื้อหา

กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติ (มาซิโดเนีย)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติแอลแบเนีย
(มาซิโดเนีย)
Ushtria Çlirimtare Kombëtare
มีส่วนร่วมในเหตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544
ปฏิบัติการ2000 – 2002
2004 – ปัจจุบัน (แยกตัวออกมา)
ผู้นำอาริ อาเมดิ
เซมมีดี เอ็กเซอร์แสรี
อัลเมท ครรเมคกรี
เรหิม เบเครี 
กองบัญชาการเทือกเขาสาร์
พื้นที่ปฏิบัติการทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และทิศเหนือของประเทศมาซิโดเนีย
กำลังพล6,000–7,000 (ส่วนใหญ่เป็นชาวคอซอวอ)
ถือกำเนิดที่ก่อตั้งขึ้นโดยอดีตสมาชิกกองทัพปลดปล่อยแห่งคอซอวอ
พันธมิตร แอลเบเนีย
กองทัพปลดปล่อยแห่งคอซอวอ
ปรปักษ์ Republic of Macedonia
KFOR ในประเทศมาซิโดเนีย
การสู้รบและสงครามเหตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544

กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติแอลแบเนีย (แอลเบเนีย: Ushtria Çlirimtare Kombëtare - UÇK; มาซิโดเนีย: Ослободителна народна армија - ОНА, Osloboditelna narodna armija - ONA) ยังเป็นที่รู้จักกันในนาม UÇK มาซิโดเนีย[1] เป็นองค์กรก่อการร้ายที่ก่อการร้ายในสาธารณรัฐมาซิโดเนียในปีพ.ศ. 2544[2] และมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับกองทัพปลดปล่อยคอซอวอ (KLA)

หลังจากเหตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544 เชื่อกันว่ากองทัพแห่งนี้ได้ปลดอาวุธภายใต้ข้อตกลงโอริส ทำให้ชาวมาซิโดเนีย และชาวแอลแบเนียได้รับเอกราชมากขึ้น

อ้างอิง

[แก้]
  1. Pugh; Sidhu 2003, p. 126
  2. Prezelj 2008, pp. 49-50

แหล่งที่มา

[แก้]
  • Pål Kolstø (2009). Media Discourse and the Yugoslav Conflicts: Representations of Self and Other. Ashgate Publishing, Ltd. ISBN 9780754676294.
  • Iztok Prezelj (2008). The Fight Against Terrorism and Crisis Management in the Western Balkans. ISBN 1586038230.
  • Thomas, Nigel (2006). The Yugoslav Wars (2): Bosnia, Kosovo and Macedonia 1992 - 2001. Osprey Publishing.[ลิงก์เสีย]
  • Michael Charles Pugh; Waheguru Pal Singh Sidhu (2003). The United Nations & regional security: Europe and beyond. ISBN 1588262324.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]