รูไคยา สุลต่าน บีกัม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Ruqaiya Sultan Begum)
รูไคยา สุลต่าน บีกัม
Ruqaiya Sultan Begum
Shahzadi of the Mughal Empire
พัดชาห์ บีกัม
ดำรงพระยศป. 1557 – 1605
ก่อนหน้าเบกะ บีกัม
ถัดไปซาลิฮา บานู บีกัม
ประสูติป. 1542
สวรรคต19 มกราคม ค.ศ. 1626(1626-01-19) (83–84 ปี)[1]
อัคระ, จักรวรรดิโมกุล
ฝังพระศพGardens of Babur, Kabul
คู่อภิเษกจักรพรรดิอักบัร
ราชวงศ์ติมูร์อิด (by birth)
พระราชบิดาฮินดาล เมอร์ซา
พระราชมารดาสุลตานัม บีกัม
ศาสนาอิสลาม

รูไคยา สุลต่าน บีกัม (อังกฤษ: Ruqaiya Sultan Begum) (ป. 1542 – 19 มกราคม 1626) เป็นพระมเหสีของจักรพรรดิอักบัร ตั้งแต่ปี 1557 ถึง 1605 เรียกได้ว่าพระองค์คือพระมเหสีองค์แรกแห่งจักรพรรดิอัคบาร์[2] และเป็นมเหสีเอก[3][4][5] พระองค์เป็นจักรพรรดินีแห่งจักรวรรดิโมกุลที่อยู่ในตำแหน่งยาวนานที่สุดเกือบ 50 ปี[6]

รุไคยาเป็น พระสนมเอก และมีเป็น เจ้าหญิงแห่งราชวงศ์โมกุล มาตั้งแต่เกิด พระบิดา ฮินดาล เมอร์ซา เป็นพระอนุชาของ ฮูมายุน พระราชบิดาในองค์มหาราชอัคบาร์ พระองค์ทรงเป็นคู่หมั้นกับอัคบาร์เมื่ออายุเก้าขวบและแต่งงานกับเขาเมื่ออายุ 14 ปี แต่ถึงกระนั้น พระองค์กลับไม่มีพระราชบุตรกับองค์อัคบาร์เลย แม้เพียงพระองค์เดียว ต่อมาพระองค์ได้เลี้ยงดู คูร์ราราม (ในฐานะลูกบุญธรรม) หลานชายคนโปรดของมหาราชอัคบาร์ (ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิชาห์ชะฮัน) ในฐานะมเหสีเอกของมหาราชอัคบาร์ พระองค์มีอิทธิพลเทียบเทียมพระองค์ และมีบทบาทสำคัญในการเจรจาระหว่างสามีและลูกเลี้ยงของเธอ เจ้าชายซาลิม ต่อมาในช่วงต้นทศวรรษที่ 1600 พระองค์ก็มีส่วนช่วยให้เจ้าชายซาลิมขึ้นครองราชบัลลังก์[7] พระองค์สวรรคตเพียงหนึ่งปีก่อนที่ชาห์ชะฮัน พระราชบุตรบุญธรรมของพระองค์ขึ้นครองบัลลังก์

ในวัฒนธรรมสมัยนิยม[แก้]

  • รุไคยามีบทบาทสำคัญในนวนิยายของ Harold Lamb เรื่อง Nur Mahal (1935).[8]
  • รุไคยาเป็นตัวละครหลักในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ที่ได้รับรางวัลของ Indu Sundaresan The Twentieth Wife (2002)[9] as well as in its sequel The Feast of Roses (2003).[10]
  • รุไคยาเป็นตัวละครสำคัญในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ของ Tanushree Podder เรื่อง 'Nur Jahan's Daughter' (2005).[11]
  • Lavina Tandon ได้รับบทเป็นพระนางในละครเรื่อง โยดาห์ อัคบาร์ ศึกจารีตพิศวาส.[12]
  • Deepika Amin ได้รับบทเป็นพระนางในละครเรื่อง Siyaasat (based on The Twentieth Wife).[13][14]
  • ในละครเรื่อง Bharat Ka Veer Putra – Maharana Pratap Poorti Agarwal รับบทเป็นพระนางตอนวัยรุ่น[15] and Falaq Naaz as an adult.[16]
  • Vaishnavi Rao ได้รับบทเป็นพระนางในละครเรื่อง Akbar — Rakht Se Takht Tak Ka Safar.
  • Tasneem Sheikh ได้รับบทเป็นพระนางในละครเรื่อง Dastaan-E-Mohabbat: Salim Anarkali

อ้างอิง[แก้]

  1. Gulbadan, Begum (1902). The History of Humāyūn (Humāyūn-Nāma). แปลโดย Beveridge, Annette S. Guildford: Billing and Sons Ltd. p. 274.
  2. Burke, S. M. (1989). Akbar, the greatest Mogul. Munshiram Manoharlal Publishers. p. 142.
  3. Jahangir, Emperor of Hindustan (1999). The Jahangirnama: Memoirs of Jahangir, Emperor of India. แปลโดย Thackston, Wheeler M. Oxford University Press. p. 437. ISBN 978-0-19-512718-8. Ruqayya-Sultan Begam, the daughter of Mirza Hindal and wife of His Majesty Arsh-Ashyani [Akbar], had passed away in Akbarabad. She was His Majesty's chief wife. Since she did not have children, when Shahjahan was born His Majesty Arsh-Ashyani entrusted that "unique pearl of the caliphate" to the begam's care, and she undertook to raise the prince. She departed this life at the age of eighty-four.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Tuzuk
  5. Lal, Ruby (2005). Domesticity and power in the early Mughal world. Cambridge University Press. p. 205. ISBN 9780521850223.
  6. Her tenure, from ป. 1557 ถึง 27 ตุลาคม 1605, 48 ปี
  7. Faruqui, Munis D. (2012). Princes of the Mughal Empire, 1504-1719. Cambridge University Press. p. 148. ISBN 9781107022171.
  8. Lamb, Harold (1935). Nur Mahal. Doubleday, Doran & Co. ISBN 978-1299983229.
  9. Sundaresan, Indu (2002). Twentieth wife : a novel (Paperback ed.). New York: Washington Square Press. p. 12. ISBN 9780743428187.
  10. Sundaresan, Indu (2003). The Feast of Roses: A Novel (ภาษาอังกฤษ). Simon and Schuster. ISBN 9780743481960.
  11. Podder, Tanushree (2005). Nur Jahan's daughter. New Delhi: Rupa & Co. ISBN 8129107228.
  12. Maheshwri, Neha (July 11, 2013). "Lavina Tandon replaces Smilie Suri in Jodha Akbar? - Times of India". The Times of India. สืบค้นเมื่อ 14 March 2017.
  13. Agarwal, Stuti (July 4, 2013). "Malikaa's cast revealed". The Times of India. สืบค้นเมื่อ 1 April 2017.
  14. "Characters". epicchannel.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-11. สืบค้นเมื่อ 2020-09-26.
  15. Maheshwri, Neha. "Lavina Tandon and Poorti Agarwal: Two Ruqaiyas on TV - Times of India". The Times of India. สืบค้นเมื่อ 22 March 2017.
  16. Tiwari, Vijaya (14 October 2014). "Maharana Pratap: Krip Suri and Falak Naaz as grown-up Akbar-Rukaiya in the show". The Times of India. สืบค้นเมื่อ 30 July 2016.

แหล่งขอมูลอื่น[แก้]

  • Findly, Ellison Banks (1993). Nur Jahan: Empress of Mughal India. Oxford University Press. ISBN 9780195360608.