Narceus americanus

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Narceus americanus
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์ขาปล้อง
ชั้น: Diplopoda
อันดับ: Spirobolida
วงศ์: Spirobolidae
สกุล: Narceus
(Palisot de Beauvois, 1817)
สปีชีส์: Narceus americanus
ชื่อทวินาม
Narceus americanus
(Palisot de Beauvois, 1817)

Narceus americanus เป็นกิ้งกือขนาดใหญ่ทางตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ มีชื่อสามัญอาทิ กิ้งกือยักษ์อเมริกัน[1] กิ้งกือหนอน และกิ้งกือเหล็ก[2] อาศัยอยู่ตามชายฝั่งตะวันออกของอเมริกาเหนือ ทางตะวันตกของจอร์จทาวน์ รัฐเท็กซัส และทางเหนือของพื้นที่ชุ่มน้ำออตไทน์ ลำตัวมีสีเทา เกือบเป็นทรงกระบอก ยาว 4 นิ้ว (100 มิลลิเมตร)[3] เมื่อถูกคุกคามมักจะขดตัวและหลั่งของเหลวมีพิษที่มีเบนโซควิโนนในปริมาณมาก ซึ่งสามารถก่อให้เกิดแผลพุพองได้ ของเหลวนี้อาจออกฤทธิ์ระคายเคืองดวงตาและผิวหนัง ในขณะที่กิ้งกือชนิดอื่นหลั่งไฮโดรเจนไซยาไนด์ กิ้งกือชนิดนี้กลับมีการยืนยันว่าไม่สามารถหลั่งไฮโดรเจนไซยาไนด์ได้ แต่หลั่งสารที่ทำให้ผิวหนังเปลี่ยนสีได้ชั่วคราว ซึ่งสารนี้ไม่เป็นอันตราย[4]

รูปภาพ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

  • Tylobolus สกุลที่มีลักษณะคล้ายกัน พบทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา

อ้างอิง[แก้]

  1. Millipedes (Diplopoda), Jeff's Nature Page
  2. Walker, Matt J; Stockman, Amy K; Marek, Paul E; Bond, Jason E (2009). "Pleistocene glacial refugia across the Appalachian Mountains and coastal plain in the millipede genus Narceus: Evidence from population genetic, phylogeographic, and paleoclimatic data". BMC Evolutionary Biology. 9 (1): 25. doi:10.1186/1471-2148-9-25. PMC 2652443. PMID 19183468.
  3. Jennifer Frick-Ruppert (2010). "Railroad worms and millipedes: predators and prey". Mountain Nature: a Seasonal Natural History of the Southern Appalachians. University of North Carolina Press. pp. 106–108. ISBN 978-0-8078-7116-4.
  4. J. E. Percy, J. Weatherston (1971). "Studies of physiologically active arthropod secretions. V. Histological studies of the defence mechanism of Narceus annularis (Raf.) (Diplopoda: Spirobolida)". Canadian Journal of Zoology. 49 (2): 278–279. doi:10.1139/z71-040. PMID 4925896.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]