การพลัดถิ่นของชาวไอริช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Irish diaspora)
“ชาวไอร์แลนด์พลัดถิ่น” ภาพพิมพ์แกะโดยเฮนรี ดอยล์ (ค.ศ. 1827–ค.ศ. 1892) สำหรับหนังสือ “Illustrated History of Ireland” โดยแมรี ฟรานซ์ คูแซ็ค, ค.ศ. 1868

การพลัดถิ่นของชาวไอริช (ไอริช: Diaspóra na nGael, อังกฤษ: Irish diaspora) หมายถึงผู้อพยพชาวไอริชและบุตรหลานที่พำนักอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา, แคนาดา, ออสเตรเลีย, อาร์เจนตินา, นิวซีแลนด์, เม็กซิโก, แอฟริกาใต้, บราซิล รัฐในแคริบเบียน และแผ่นดินใหญ่ยุโรป ผู้พลัดถิ่นเมื่อตีความหมายอย่างกว้างๆ แล้วก็มีด้วยกันกว่า 80 ล้านคน ซึ่งมากกว่าสิบสามเท่าของประชากรบนเกาะไอร์แลนด์เอง ที่มีประชากรราว 6.2 ล้านคนใน ค.ศ. 2009 (รวมสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และไอร์แลนด์เหนือ)

หลังจากปี ค.ศ. 1840 การอพยพก็ทำกันอย่างขนานใหญ่จนกลายเป็นขบวนการโยกย้ายประชากรระดับชาติ[1] ผู้ที่อพยพที่รวมทั้งที่อพยพไปยังบริเตนมีด้วยกันเป็นจำนวนทั้งสิ้นราวระหว่าง 9 ถึง 10 ล้านคนที่อพยพหลังปี ค.ศ. 1700 จำนวนที่อพยพสูงกว่าเมื่อไอร์แลนด์มีประชากรเป็นจำนวนสูงสุดในประวัติศาสตร์ในคริสต์ทศวรรษ 1830 เป็นจำนวน 8.5 คน ระหว่าง ค.ศ. 1830 จนถึง ค.ศ. 1914 ประชากรอีกเกือบ 5 ล้านคนอพยพไปยังเฉพาะสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1890 สองในห้าของชาวไอร์แลนด์ที่เกิดมีถิ่นฐานอยู่ในต่างประเทศ เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 21 ก็มีผู้คนราว 80 ล้านคนจากทั่วโลกที่อ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากชาวไอริช ในจำนวนนั้นชาวอเมริกัน 45 ล้านคนอ้างว่าเชื้อสายหลักของตนเป็นชาวไอริช[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. David Fitzpatrick, "Emigration, 1801–70", in A New History of Ireland, vol. V: Ireland under the Union, I, 1801–70, ed. W. E. Vaughan (Oxford, 1989), 569; David Fitzpatrick, "Emigration, 1871–1921", in A New History of Ireland, vol. VI: Ireland under the Union, II, 1870–1921, ed. W. E. Vaughan (Oxford, 1996), 607
  2. Kenny (2003)
  • Ronan, Gerard The Irish Zorro: the Extraordinary Adventures of William Lamport (1615–1659)
  • Murray, Thomas (1919) The Story of the Irish in Argentina
  • Glazier, Michael (ed.) (1999) The Encyclopedia of the Irish in America Notre Dame IN: University of Notre Dame Press ISBN 0-268-02755-2

บรรณานุกรม[แก้]

  • Akenson, Donald. The Irish Diaspora: a Primer. (Belfast: Institute of Irish Studies, 1993)
  • Bielenberg, Andy, ed. The Irish Diaspora (London: Pearson, 2000)
  • Campbell, Malcolm. Ireland's New Worlds: Immigrants, Politics, and Society in the United States and Australia, 1815-1922 (2007)
  • Coogan, Tim Pat. Wherever Green Is Worn: The Story of the Irish Diaspora (2002)
  • Darby, Paul, and David Hassan, eds. Sport and the Irish Diaspora: Emigrants at Play (2008)
  • Delaney, Enda, Kevin Kenny, and Donald Mcraild. "The Irish Diaspora", Irish Economic and Social History (2006): 33:35-58
  • Fanning, Charles. New Perspectives on the Irish Diaspora (2000)
  • Gray, Breda. Women and the Irish Diaspora (2003)
  • Gribben, Arthur, and Ruth-Ann M. Harris. The Great Famine and the Irish Diaspora in America (1999)
  • Kenny, Kevin. "Diaspora and Comparison: the Global Irish as a Case Study", Journal of American History 2003 90(1): 134-162, In JSTOR
  • Lalor, Brian, ed. The Encyclopedia of Ireland (Dublin: Gill & Macmillan, 2003)
  • Mccaffrey, Lawrence. The Irish Catholic Diaspora in America (Washington: Catholic University of America, 1997)
  • O'Day, Alan. "Revising the Diaspora." in The Making of Modern Irish History, edited by D George Boyce and Alan O'Day. (London: Routledge, 1996), pp. 188–215.
  • O’Sullivan, Patrick, ed. The Irish Worldwide: Religion and Identity, vol. 5. London: Leicester University Press, 1994
  • Walker, Brian. "'The Lost Tribes of Ireland': Diversity, Identity and Loss among the Irish Diaspora", Irish Studies Review; 2007 15(3): 267-282

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]