จิตราล

พิกัด: 35°50′46″N 71°47′09″E / 35.84611°N 71.78583°E / 35.84611; 71.78583
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Chitral)
จิตราล

  • چھترار
  • چترال
ตามเข็มนาฬิกาจากบน: หุบเขาจิตราลกับยอดเขาตีริชมีร์ Shahi Qilla มัสยิดชาฮี ป้อมจิตราล
ตามเข็มนาฬิกาจากบน:
สมญา: 
Qāshqār
จิตราลตั้งอยู่ในแคว้นแคบาร์ปัคตูนควา
จิตราล
จิตราล
จิตราลตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน
จิตราล
จิตราล
พิกัด: 35°50′46″N 71°47′09″E / 35.84611°N 71.78583°E / 35.84611; 71.78583
ประเทศ ปากีสถาน
แคว้น แคว้นแคบาร์ปัคตูนควา
อำเภอจิตราล
สถาปนา1885; 139 ปีที่แล้ว (1885)
ผู้ก่อตั้งรัฐบาลบริติช
ตั้งชื่อจากField
การปกครอง[3]
 • ประเภทองค์การเทศบาล
 • องค์กรการบริหารส่วนอำเภอ
 • นายกเทศมนตรีShahzada Aman Ur Rehman
 • MNAMoulana Abdul Akbar Chitrali[1]
 • รองผบ.ตรInam-ul-Haq[2]
พื้นที่
 • ทั้งหมด14,850 ตร.กม. (5,730 ตร.ไมล์)
ความสูง[4]1,494 เมตร (4,902 ฟุต)
ประชากร
 (2017)[5]
 • ทั้งหมด49,780 คน
 • ความหนาแน่น3.4 คน/ตร.กม. (8.7 คน/ตร.ไมล์)
ภาษา
 • ทางการอูรดู[6]
 • ภุมิภาคจิตราล[6]
เขตเวลาUTC+5:00 (เวลามาตรฐานปากีสถาน)
รหัสไปรษณีย์17200[7][8]
รหัสพื้นที่0943
ทะเบียนพาหนะCL
เว็บไซต์lgkp.gov.pk/

จิตราล (Khowar: چھترار, อักษรโรมัน: ćhitrār, แปลตรงตัว'ทุ่ง'; อูรดู: چترال, อักษรโรมัน: ćitrāl) ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำคูนาร์ (หรือแม่น้ำจิตราล) ทางตอนเหนือของแคว้นแคบาร์ปัคตูนควา ประเทศปากีสถาน ทำหน้าที่เป็นเมืองหลักของอำเภอจิตราล และก่อนหน้านั้นเป็นเมืองหลวงของรัฐมหาราชาจิตราลที่เคยปกครองบริเวณนี่ก่อนที่จะผนวกเข้าในปากีสถานตะวันตกในวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1947 นครนี้มีประชากร 49,780 คนตามสำมะโน ค.ศ. 2017[5]

ภูมิอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของจิตราล แคว้นแคบาร์ปัคตูนควา
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 16.9
(62.4)
21.0
(69.8)
28.0
(82.4)
34.3
(93.7)
38.3
(100.9)
42.5
(108.5)
44.4
(111.9)
42.2
(108)
39.8
(103.6)
34.4
(93.9)
27.0
(80.6)
20.7
(69.3)
44.4
(111.9)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 8.8
(47.8)
9.9
(49.8)
15.1
(59.2)
22.5
(72.5)
28.2
(82.8)
34.4
(93.9)
35.9
(96.6)
34.4
(93.9)
31.1
(88)
25.1
(77.2)
18.7
(65.7)
11.6
(52.9)
23.0
(73.4)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 4.1
(39.4)
5.3
(41.5)
9.6
(49.3)
15.5
(59.9)
20.3
(68.5)
26.1
(79)
28.0
(82.4)
26.5
(79.7)
22.1
(71.8)
16.2
(61.2)
10.8
(51.4)
5.9
(42.6)
15.9
(60.6)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) −0.6
(30.9)
0.6
(33.1)
4.2
(39.6)
8.5
(47.3)
12.5
(54.5)
17.8
(64)
20.2
(68.4)
18.7
(65.7)
13.1
(55.6)
7.2
(45)
2.9
(37.2)
0.2
(32.4)
8.8
(47.8)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -11.0
(12.2)
-11.0
(12.2)
-3.7
(25.3)
0.0
(32)
4.4
(39.9)
8.9
(48)
11.1
(52)
10.6
(51.1)
5.6
(42.1)
1.1
(34)
-3.0
(26.6)
-12.2
(10)
−12.2
(10)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 38.4
(1.512)
63.8
(2.512)
97.3
(3.831)
71.7
(2.823)
43.9
(1.728)
5.1
(0.201)
4.9
(0.193)
8.0
(0.315)
7.3
(0.287)
15.6
(0.614)
20.4
(0.803)
38.5
(1.516)
414.9
(16.335)
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 134.0 133.7 150.4 188.6 247.0 286.3 285.4 258.6 231.0 214.0 182.5 130.7 2,442.2
แหล่งที่มา: NOAA (1971-1990) [9]

อ้างอิง[แก้]

  1. "National Assembly of Pakistan".
  2. "University of Chitral kicks off tree plantation campaign". 16 March 2022.
  3. "District Chitral (Upper & Lower)". Department of Local Government, Government of Khyber Pakhtunkhwa. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-18. สืบค้นเมื่อ 18 January 2022.
  4. Ahmada, Munir; Muhammadb, Dost; Mussaratb, Maria; Naseerc, Muhammad; Khand, Muhammad A.; Khanb, Abid A.; Shafi, Muhammad Izhar (2018). "Spatial variability pattern and mapping of selected soil properties in hilly areas of Hindukush range northern, Pakistan". Eurasian Journal of Soil Science. 7 (4): 355. doi:10.18393/ejss.466424. สืบค้นเมื่อ 29 August 2019 – โดยทาง dergipark.org.tr.
  5. 5.0 5.1 "Khyber Pakhtūnkhwā / North-West Frontier (Pakistan): Province, Major Cities, Municipalites & Towns - Population Statistics, Maps, Charts, Weather and Web Information". Citypopulation.de. สืบค้นเมื่อ 30 May 2022.
  6. 6.0 6.1 "Indo-Iranian Frontier Languages". Encyclopaedia Iranica. 15 November 2006. สืบค้นเมื่อ 6 November 2015.
  7. "Postal code". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-19. สืบค้นเมื่อ 2023-07-06.
  8. "List of Postal Codes of GPOs of Chitral Pakistan Post 2023".
  9. "Chitral Climate Normals 1971-1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ January 16, 2013.

บรรณานุกรม[แก้]

  • Decker, D. Kendall (1992). Languages of Chitral. ISBN 4871875202.
  • Durand, Col. A. (1899). The Making of a frontier.
  • Leitner, G. W. (1893). Dardistan in 1866, 1886 and 1893: Being An Account of the History, Religions, Customs, Legends, Fables and Songs of Gilgit, Chilas, Kandia (Gabrial) Yasin, Chitral, Hunza, Nagyr and other parts of the Hindukush, as also a supplement to the second edition of The Hunza and Nagyr Handbook. And An Epitome of Part III of the author's The Languages and Races of Dardistan (First reprint ed.). New Delhi: Manjusri Publishing House. ISBN 4871877787.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Allan, Nigel J. R.; Buddruss, Georg (1991). "CHITRAL". Encyclopaedia Iranica, Vol. V, Fasc. 5. pp. 487–494.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]