ข้ามไปเนื้อหา

Cassiopea andromeda

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Cassiopea andromeda
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Cnidaria
ชั้น: Scyphozoa
อันดับ: Rhizostomae
วงศ์: Cassiopeidae
สกุล: Cassiopea
สปีชีส์: C.  andromeda
ชื่อทวินาม
Cassiopea andromeda
(Forskål, 1775)
ชื่อพ้อง[1]
  • Medusa andromeda Forskål, 1775

Cassiopea andromeda เป็นแมงกะพรุนจำพวกแมงกะพรุนกลับหัวชนิดหนึ่ง โดยเป็นแมงกะพรุนที่มีส่้วนหัวหรือเมดูซ่าคว่ำลงและเกาะติดกับพื้นทะเล ที่เป็นพื้นทรายหรือพื้นโคลน และเอาส่วนที่เป็นหนวดชูขึ้น ทำให้แลดูคล้ายดอกไม้ทะเลหรือแมงกะพรุนที่ตายแล้ว[2]

Cassiopea andromeda มีความยาวเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร แพร่กระจายพันธุ์ในน่านน้ำแถบอินโด-แปซิฟิกฝั่งตะวันตก[3] รวมถึงในน่านน้ำไทยด้วย แต่เป็นแมงกะพรุนที่ไม่้ได้มีการจับมาบริโภค[4]

โดยการชูเอาหนวดที่มีเข็มพิษคอยดักจับแพลงก์ตอนที่ลอยตามกระแสน้ำกินเป็นอาหาร รวมถึงกุ้งหรือปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมถึงสามารถสังเคราะห์แสงเองได้ด้วยจากสาหร่ายซูแซนแทลลี่ที่อยู่รอบ ๆ หนวด[3] [5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. จาก itis.gov
  2. ท่องโลกความหลากหลายมหกรรมวิทย์ ทำความรู้จัก "ดาร์วิน-เอเลียนสปีชีส์" จากผู้จัดการออนไลน์[ลิงก์เสีย]
  3. 3.0 3.1 "ข้อมูลสัตว์น้ำจากเชียงใหม่ ซู อควาเรี่ยม". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2013-07-05.
  4. บทคัดย่อโครงการวิจัยและวิทยานิพนธ์ 2545 การประชุมวิืชาการประจำปีโครงการ BRT ครั้งที่ 6 9-12 ตุลาคม 2545 โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช
  5. Murphy, Richard C. (2002). Coral Reefs: Cities Under The Sea. Princeton, New Jersey: The Darwin Press. ISBN 978-0-87850-138-0.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Cassiopea andromeda ที่วิกิสปีชีส์