ไก่เนย
ไก่เนย | |
ชื่ออื่น | มุร์ข มขานี |
---|---|
แหล่งกำเนิด | อินเดีย |
ภูมิภาค | เดลฮี[1][2][3][4][5] |
ผู้สร้างสรรค์ | กุนดาน ลัล คุชราล[6][7] |
ส่วนผสมหลัก | เนย มะเขือเทศ ไก่ |
ไก่เนย (butter chicken, ภาษาฮินดี: मुर्ग़ मक्खनी) หรือมุร์ข มขานี เป็นอาหารทำจากไก่ของอินเดีย ปรุงในซอสรสเผ็ด
ประวัติ
[แก้]อาหารนี้มีพื้นฐานมาจากอาหารปัญจาบ พัฒนาขึ้นโดยกุนดาน ลัล คุชราล ชาวปัญจาบที่นับถือศาสนาฮินดู[8] และเป็นผู้ก่อตั้งภัตตาคาร โมตี มาฮาล เดอลุกซ์ในเดลฮี ประเทศอินเดีย [9][10][11][12][13][14] เมื่อราวทศวรรษ 2493[15] เป็นการปรุงไก่ในน้ำเกรวี่ทำจากมะเขือเทศ ใส่เนยและครีมมาก[16]
การปรุง
[แก้]หมักไก่กับส่วนผสมของครีม โยเกิร์ต และเครื่องเทศหลายชั่วโมง เครื่องเทศที่ใช้ได้แก่ มะละล่า ขิง กระเทียม เลมอนหรือมะนาว พริกไทย ผักชี ขมิ้น และพริก นำไปอบในเตาทันดูร์ หรือย่าง หรือทอด กินกับน้ำแกงที่ใส่เนย มีส่วนประกอบของซอสที่ต่างกันหลายอย่าง บางสูตรใส่กานพลู ผักชี อบเชย พริกไทย มหาหิงคุ์ ยี่หร่า และลูกซัด บางสูตรใส่เม็ดมะม่วงหิมพานต์บดเพื่อทำให้ข้น โรยหน้าด้วยเนย ครีม พริกเขียว ผักชี และลูกซัด
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Delhi’s original butter chicken
- ↑ Laura Siciliano-Rosen. "Delhi Food and Travel Guide: The inside scoop on the best North Indian foods".
- ↑ Gujral, Monish (7 March 2013). On the Butter Chicken Trail: A Dehli Darbar Cookbook (1.0 ed.). Delhi, India: Penguin India. ISBN 9780143419860.
- ↑ Hosking, Richard (8 August 2006). Authenticity in the kitchen : proceedings of the Oxford Symposium on food and cookery 2005 (1 ed.). Blackawton: Prospect Books. p. 393. ISBN 9781903018477.
- ↑ "Origin of Butter Chicken – Indian or English?". Indian Street Food Co. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-09. สืบค้นเมื่อ 10 June 2017.
- ↑ Gujral, Monish (7 March 2013). On the Butter Chicken Trail: A Dehli Darbar Cookbook (1.0 ed.). Delhi, India: Penguin India. ISBN 9780143419860.
- ↑ Hosking, Richard (8 August 2006). Authenticity in the kitchen : proceedings of the Oxford Symposium on food and cookery 2005 (1 ed.). Blackawton: Prospect Books. p. 393. ISBN 9781903018477.
- ↑ Laura Siciliano-Rosen. "Delhi Food and Travel Guide: The inside scoop on the best North Indian foods".
- ↑ Gujral, Monish (20 Mar 2013). The Moti Mahal Cookbook. Penguin Books India. ISBN 9780143419860.
- ↑ "On a journey's trail". The Hindu. 28 November 2009.
- ↑ Bararia, Anu. "Had I not re-invented the brand, Moti Mahal would have become a thing of the past than a legacy to the future". India Hospitality Review. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-03. สืบค้นเมื่อ 29 June 2012.
- ↑ "Restaurant chain Moti Mahal Deluxe opens outlet in Shimla". Himachal Live News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-07-21. สืบค้นเมื่อ 17 July 2010.
- ↑ Akhtar, Nazia (3 November 2009). "Moti Mahal brings Mughalia cuisines to Kashmir". Greater Kashmir Srinagar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-02. สืบค้นเมื่อ 2017-08-13.
- ↑ "Famous Indian Restaurant Moti Mahal Tandoori Franchise Open in Oman". Franchise Mart.
- ↑ Delhi’s original butter chicken
- ↑ http://www.outlookindia.com/website/story/what-if-kundan-lal-hadnt-hit-upon-butter-chicken/224774
- Curry Club Tandoori and Tikka Dishes, Piatkus, London — ISBN 0-7499-1283-9 (1993)
- Curry Club 100 Favourite Tandoori Recipes, Piatkus, London — ISBN 0-7499-1491-2 & ISBN 0-7499-1741-5 (1995)
- India: Food & Cooking, New Holland, London — ISBN 978-1-84537-619-2 (2007)