ข้ามไปเนื้อหา

โรงทำงาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เคหสงเคราะห์และโรงทำงานเดิมที่แนนท์วิชในอังกฤษที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ราว ค.ศ. 1780

เคหสงเคราะห์และโรงทำงาน หรือ โรงทำงาน[1] (อังกฤษ: Workhouse) ภายใต้ระบบกฎหมายประชาสงเคราะห์ของอังกฤษและเวลส์, สกอตแลนด์ and ไอร์แลนด์ “เคหสงเคราะห์และโรงทำงาน” คือสถานที่พำนักอาศัยและประกอบอาชีพสำหรับประชาชนผู้ที่ไม่สามารถหาเลี้ยงตนเองได้

คำอ้างอิงถึงเคหสงเคราะห์และโรงทำงานเป็นครั้งแรกที่สุดใน “พจนานุกรมภาษาอังกฤษฉบับออกซฟอร์ด” มีมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1652 ที่เอ็กซิเตอร์ แต่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบางแห่งกล่าวว่ามีมาตั้งแต่ก่อหน้านั้นแล้ว บันทึกหนึ่งกล่าวถึงเคหสงเคราะห์ของปี ค.ศ. 1631 ที่ตั้งอยู่ที่แอบบิงดัน, ออกซฟอร์ดเชอร์[2] บริเวณที่พำนักอาศัยและทำงานเรียกกันเป็นภาษาพื้นบ้านว่า “spike” ที่มาจากเครื่องมือ spike ที่ใช้ในการทำเชือกด้ายดิบ[3]ที่เป็นงานหนึ่งที่ทำกันในเคหสงเคราะห์

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2010-05-22.
  2. Higginbotham, Peter, Introduction, The Workhouse Web Site, สืบค้นเมื่อ 9 April 2010 {{citation}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-20. สืบค้นเมื่อ 2010-05-22.
  • Dunlop, Alexander (2010) [1854], A Treatise on the Law of Scotland Relative to the Poor, Nabu Press, ISBN 978-1-145721-87-6
  • Fowler, Simon (2007), Workhouse: The People: The Places: The Life Behind Closed Doors, The National Archives, ISBN 978-1-905615-28-5
  • Means, Robin; Smith, Randall (1985), The Development of Welfare Services for Elderly People, Routledge, ISBN 0-7099-3531-5

บรรณานุกรม

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เคหสงเคราะห์และโรงทำงาน