โรคกอรัม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โรคกอรัม
ภาพเอกซเรย์มวลกะโหลกศีรษะผู้ป่วย
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-9733.99[1]
DiseasesDB31515

โรคกอรัม (อังกฤษ: Gorham's disease, Gorham vanishing bone disease, phantom bone disease)[2] อาการของโรค คือ กระดูกละลาย จากความผิดปกติในระบบร่างกายในระบบกระดูก โดยยังไม่ทราบเหตุของโรคและอาการวิธีรักษา ลักษณะพิเศษโรคนั้นเป็นลักษณะการควบคุมการลดตัวลงของมวลกระดูกจนเหมือนหายไป[3][4] การรักษาจำเป็นต้องประคับประคองอาการไปตามสภาพ

อาการ[แก้]

อาการเริ่มแรกไม่ได้มีบันทึกไว้ แต่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเพศและวัยและมีความรุนแรงตามส่วนของกระดูกในร่างกาย ทั้งซี่โครง ฟัน กระโหลกในทุกส่วนที่มีการสะสมของแคลเซียมมีโอกาสถูกทำลายและสลายตัวลง

การรักษา[แก้]

ภาวะเริ่มต้นของโรคคือการแตกตัวของน้ำเหลืองจากไขมันในอาหารที่รับประทานเข้าไป จนทำให้มีการขับออกมาในรูปแบบของน้ำเหลือง

ประวัติการพบ[แก้]

ค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1838 โดยพบมากในระหว่างการระบาดของโรค[5] โรคนี้สามารถเกิดได้กับกระดูกทุกส่วนของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นกระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง กะโหลกศีรษะ กระดูกเชิงกราน กระดูกไหปลาร้า และขากรรไกร โดยมการสลายตัวของกระดูก และการเจริญของต่อมน้ำเหลืองและผนังท่อน้ำเหลืองร่วมด้วย ซึ่งภาวะกระดูกละลายยังส่งผลต่อกล้ามเนื้อโครงร่างจนอาจทิ่มแทงทำให้บาดเจ็บที่อวัยวะภายในได้

วิทยาการระบาด[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Reader Questions: Look to 733.99 for Gorham's Disease". The Coding Institute. American Medical Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-30. สืบค้นเมื่อ 19 April 2012.
  2. "Gorham vanishing bone disease information". Disease Database. สืบค้นเมื่อ 19 April 2012.
  3. Gorham LW, Stout AP. Massive osteolysis (acute spontaneous absorption of bone, phantom bone, disappearing bone): its relation to hemangiomatosis. J Bone Joint Surg [Am] 1955;37-A:985-1004.
  4. Ross JL., Schinella R., and Shenkman L. Massive osteolysis: An unusual cause of bone destruction. The American Journal of Medicine 1978; 65(2): 367-372.
  5. Jackson JBS. A boneless arm. Boston Med Surg J 1838;18:368-9.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]